ข้ามไปเนื้อหา

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระยามานวราชเสวี
(ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
ดำรงตำแหน่ง
16 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(1 ปี 144 วัน)[1]
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
นายกรัฐมนตรีหลวงประดิษฐ์มนูธรรม(ปรีดี พนมยงค์)
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
ก่อนหน้าพระสุธรรมวินิจฉัย
พระยานลราชสุวัจน์
สงวน จูฑะเตมีย์
ถัดไปคณะอภิรัฐมนตรี ทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
อภิรัฐมนตรี
ทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
ดำรงตำแหน่ง
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2492[2]
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
นายกรัฐมนตรีควง อภัยวงศ์
จอมพลป. พิบูลสงคราม
ก่อนหน้าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
ตนเอง
ถัดไปสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
ประธานรัฐสภาไทย
ดำรงตำแหน่ง
3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 2486
(6 ปี 325 วัน)
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
ก่อนหน้าเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
ถัดไปพระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)
ดำรงตำแหน่ง
2 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 – 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488
(1 ปี 105 วัน)
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
ก่อนหน้าพระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)
ถัดไปวิลาศ โอสถานนท์
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ดำรงตำแหน่ง
3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 2486
(6 ปี 325 วัน)
ก่อนหน้าเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
ถัดไปพระยาศรยุทธเสนี
ดำรงตำแหน่ง
2 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 – 3 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(1 ปี 336 วัน)
ก่อนหน้าพระยาศรยุทธเสนี
ถัดไปเกษม บุญศรี
เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
ดำรงตำแหน่ง
27 ตุลาคม พ.ศ. 2466 – 6 กันยายน พ.ศ. 2468
(1 ปี 315 วัน)
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ถัดไปพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด18 กันยายน พ.ศ. 2433
จังหวัดสงขลา ประเทศสยาม
เสียชีวิต17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527 (93 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
คู่สมรสท่านผู้หญิงศรี (ลพานุกรม) มานวราชเสวี
ลายมือชื่อ

มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง[3]

ประวัติ

[แก้]

พระยามานวราชเสวี เป็นบุตรพระอนันตสมบัติ (เอม ณ สงขลา) ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลา เกิดที่บ้านพระยาสุนทรานุรักษ์ (เนตร ณ สงขลา) ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นน้องชายร่วมบิดามารดากับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

การศึกษา

[แก้]

หลังจากเรียนจบชั้นมัธยมที่โรงเรียนราชวิทยาลัย ได้อยู่ในพระอุปถัมภ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

พ.ศ. 2456 ได้รับทุนเล่าเรียนหลวงของกระทรวงยุติธรรม ไปศึกษาต่อกฎหมายที่โรงเรียนอินเนอร์เทมเปิล (Inner Temple) ประเทศอังกฤษ

ครอบครัว

[แก้]

พระยามานวราชเสวี สมรสกับท่านผู้หญิงศรี มานวราชเสวี (ลพานุกรม) มีบุตรชายคนเดียว คือ

ยศ

[แก้]

ยศพลเรือน

[แก้]
  • มหาอำมาตย์ตรี

ยศในพระราชสำนัก

[แก้]
  • – เสวกตรี[5]

ยศเสือป่า

[แก้]
  • 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461 นายหมวดตรี[6]

ตำแหน่ง

[แก้]
  • – ผู้ช่วยสมุหพระนิติศาสตร์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

[แก้]

ลำดับสาแหรก

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้ง ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศแต่งตั้ง คณะอภิรัฐมนตรี เก็บถาวร 2011-11-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. ประกาศตั้ง ศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, เล่ม ๕๑, ๑ กรกฎาคม ๒๔๗๗, หน้า ๙๐๐
  4. กิติวัฒนา (ไชยันต์) ปกมนตรี, หม่อมราชวงศ์. สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง. กรุงเทพฯ : ดีเอ็มดี, พ.ศ. 2551. 290 หน้า. ISBN 978-974-312-022-0
  5. ประกาศกระทรวงวัง เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้แต่งเครื่องยศในราชสำนัก
  6. พระราชทานยศเสือป่า
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๗ ตอนที่ ๒๕ ง หน้า ๑๘๐๗, ๒ พฤษภาคม ๒๔๙๓
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๗ ตอนที่ ๒๓ ง หน้า ๑๗๐๐, ๒๕ เมษายน ๒๔๙๓
  9. ราชกิจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2012-05-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๗ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๙๔๔, ๑๘ กันยายน ๒๔๘๔
  10. ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๕๙๙, ๒๖ พฤษภาคม ๒๔๗๘
  11. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๓๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๙๓๙, ๒๖ มกราคม ๒๔๖๑
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความ ส่งเหรียญจักรพรรดิมาลาไปพระราชทาน, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๔๒๔, ๒ ธันวาคม ๒๔๗๗
  13. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญ, เล่ม ๔๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๓๐๐, ๖ มีนาคม ๒๔๖๙
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2011-11-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๙๖๑, ๒๘ พฤศจิกายน ๒๔๘๑
  15. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๑๐ ง หน้า ๕๓๐, ๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๖
  16. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๕ ตอนที่ ๕๐ ง หน้า ๑๘๗๔, ๑ กรกฎาคม ๒๕๐๑

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
ก่อนหน้า พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) ถัดไป
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานรัฐสภา
(ครั้งที่ 1)

(3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2480)
พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)
พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)
ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานรัฐสภา
(ครั้งที่ 2)

(2 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2488)
เกษม ��ุญศรี (ประธานสภาผู้แทนราษฎร)
พันตรี วิลาศ โอสถานนท์ (ประธานรัฐสภา)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478)
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
(16 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490)
คณะอภิรัฐมนตรี