สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||
ภาพรวม | |||||||||
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภาไทย | ||||||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||||||
ที่ประชุม | อาคารรัฐสภาไทย | ||||||||
วาระ | 3 กรกฎาคม 2554 – 9 ธันวาคม 2556 (2 ปี 159 วัน) | ||||||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 | ||||||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ | ||||||||
ฝ่ายค้าน | พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคร่วมฝ่ายค้าน 4 พรรค | ||||||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||||||
สมาชิก | 500 | ||||||||
ประธาน | สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ | ||||||||
รองประธานคนที่ 1 | เจริญ จรรย์โกมล | ||||||||
รองประธานคนที่ 2 | วิสุทธิ์ ไชยณรุณ | ||||||||
นายกรัฐมนตรี | ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร | ||||||||
ผู้นำฝ่ายค้าน | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | ||||||||
พรรคครอง | พรรคเพื่อไทย | ||||||||
สมัยประชุม | |||||||||
| |||||||||
สมัยประชุมวิสามัญ | |||||||||
|
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร (พระราชอิสริยยศในขณะนั้น) เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ เปิดประชุมรัฐสภา ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต ลานพระบรมรูปทรงม้า เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554[1] ในวันต่อมา เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้นัดประชุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ที่ประชุมมีมติเลือกนายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร[2]
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรค ประเภท และภาค
แก้พรรค | บัญชี รายชื่อ |
แบ่งเขต | รวม | ||||||
กรุงเทพมหานคร | กลาง | เหนือ | ตะวันออกเฉียงเหนือ | ใต้ | ตะวันออก | ตะวันตก | |||
เพื่อไทย | 61 | 9 | 47 | 35 | 104 | - | 6 | 2 | 264 |
ประชาธิปัตย์ | 44 | 24 | 15 | 1 | 4 | 50 | 11 | 12 | 161 |
ภูมิใจไทย | 5 | - | 8 | - | 13 | 1 | 2 | 4 | 33 |
ชาติไทยพัฒนา | 4 | - | 11 | - | 1 | 1 | 1 | 1 | 19 |
ชาติพัฒนา | 2 | - | 1 | - | 4 | - | - | - | 7 |
พลังชล | 1 | - | - | - | - | - | 6 | - | 7 |
รักประเทศไทย | 4 | - | - | - | - | - | - | - | 4 |
มาตุภูมิ | 1 | - | - | - | - | 1 | - | - | 2 |
รักษ์สันติ | 1 | - | - | - | - | - | - | - | 1 |
มหาชน | 1 | - | - | - | - | - | - | - | 1 |
ประชาธิปไตยใหม่ | 1 | - | - | - | - | - | - | - | 1 |
รวม | 125 | 33 | 82 | 36 | 126 | 53 | 26 | 19 | 500 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
แก้ได้รับการเลือกตั้ง | ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง | ||
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง |
พรรคเพื่อไทย (61)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร | ||
2 | ยงยุทธ วิชัยดิษฐ | ลาออก 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555[8] | |
3 | ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง | ||
4 | เสนาะ เทียนทอง | ||
5 | พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก | ลาออก 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555[9] | |
6 | มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ | ||
7 | ปลอดประสพ สุรัสวดี | ลาออก 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 | |
8 | จตุพร พรหมพันธุ์ | พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของ ศาลรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[10] | |
9 | ณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ | ||
10 | สุชาติ ธาดาธำรงเวช | ||
11 | พลตำรวจโท ชัจจ์ กุลดิลก | ลาออก 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554[11] | |
12 | จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ | ลาออก 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 | |
13 | บัณฑูร สุภัควณิช | ลาออก 22 สิงหาคม พ.ศ. 2554[12] | |
14 | พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย | ||
15 | สันติ พร้อมพัฒน์ | ลาออก 13 ตุลาคม พ.ศ. 2554 | |
16 | พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน | ||
17 | พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ | ||
18 | วิรุฬ เตชะไพบูลย์ | ลาออก 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554 | |
19 | นายแพทย์ เหวง โตจิราการ | ||
20 | สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล | ||
21 | นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล | ลาออก 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 | |
22 | วัฒนา เมืองสุข | ||
23 | พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา | ลาออก 17 ตุลาคม พ.ศ. 2554 | |
24 | ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิ นวรัตน์ | ||
25 | ภูวนิดา คุนผลิน | ||
26 | สุนัย จุลพงศธร | ||
27 | ระพิพรรณ พงศ์เรืองรอง | ||
28 | คณวัฒน์ วศินสังวร | ||
29 | อัสนี เชิดชัย | ||
30 | สุณีย์ เหลืองวิจิตร | ||
31 | พันตรี อณันย์ วัชโรทัย | ||
32 | วิรัช รัตนเศรษฐ | ||
33 | พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ | ||
34 | นภินทร ศรีสรรพางค์ | ||
35 | ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ | ||
36 | วราภรณ์ ตั้งภากรณ์ | ||
37 | สุนทรี ชัยวิรัตนะ | ||
38 | ตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร | ||
39 | สมพล เกยุราพันธุ์ | ||
40 | พงศกร อรรณนพพร | ||
41 | พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ | ||
42 | ขัตติยา สวัสดิผล | ||
43 | ธนเทพ ทิมสุวรรณ | ||
44 | กฤษณา สีหลักษณ์ | ||
45 | เกียรติชัย ติรณศักดิ์กุล | ||
46 | วิภูแถลง พัฒนภูมิไท | ||
47 | เยาวนิตย์ เพียงเกษ | ||
48 | พายัพ ปั้นเกตุ | ||
49 | รังสิมา เจริญศิริ | ||
50 | นายแพทย์ เชิดชัย ตันติศิรินทร์ | ||
51 | กานต์ กัลป์ตินันท์ | ||
52 | ธนิก มาศรีพิทักษ์ | ||
53 | พิชิต ชื่นบาน | ||
54 | ก่อแก้ว พิกุลทอง | ||
55 | นิยม วรปัญญา | ||
56 | จารุพรรณ กุลดิลก | ||
57 | อรรถกร ศิริลัทธยากร | ||
58 | เวียง วรเชษฐ์ | ||
59 | อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ | ||
60 | วิเชียร ขาวขำ | ลาออก เพื่อลงสมัครนายก อบจ.อุดรธานี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[13] | |
61 | ประวัฒน์ อุตโมท | ||
62 | ดนุพร ปุณณกันต์ | แทน บัณฑูร; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554[14] | |
63 | ยุรนันท์ ภมรมนตรี | แทน ชัจจ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554[15] ลาออก เพื่อลงเลือกตั้งซ่อม สส.กทม. 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2556[16] | |
64 | บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ | แทน สันติ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2554[17] | |
65 | กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ | แทน ยุทธศักดิ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2554[18] | |
66 | อุดมรัตน์ อาภรณ์รัตน์ | แทน วิรุฬ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2554[19] | |
67 | ชวลิต วิชยสุทธิ์ | แทน นิวัฒน์ธํารง; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555[20] | |
68 | ธวัชชัย สุทธิบงกช | แทน จารุพงศ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555[21] | |
69 | ทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ | แทน วิเชียร; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[22] | |
70 | สรรพภัญญู ศิริไปล์ | แทน จตุพร; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[23] | |
71 | มาลินี อินฉัตร | แทน ยงยุทธ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555[24] | |
72 | ชินวัฒน์ หาบุญพาด | แทน ประชา; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555[25] | |
73 | เอกธนัช อินทร์รอด | แทน ปลอดประสพ; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 25554[26] | |
74 | ถิรชัย วุฒิธรรม | แทน ยุรนันท์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2556[27] ลาออก 18 ตุลาคม พ.ศ. 2556 | |
75 | สมเกียรติ ศรลัมพ์ | แทน ถิรชัย; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556[28] |
พรรคประชาธิปัตย์ (44)
แก้เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ที่ประชุมพรรคประชาธิปัตย์มีมติให้ ส.ส. ลาออกทั้งพรรค [29] เพื่อต่อต้านรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร แต่ในวันถัดไปรัฐบาลก็ยุบสภา
พรรคภูมิใจไทย (5)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ชวรัตน์ ชาญวีรกูล | ||
2 | ชัย ชิดชอบ | ||
3 | เรืองศักดิ์ งามสมภาค | ||
4 | นาที รัชกิจประการ | ||
5 | ศุภชัย ใจสมุทร |
พรรคชาติไทยพัฒนา (4)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ชุมพล ศิลปอาชา | ถึงแก่กรรม 21 มกราคม พ.ศ. 2556 | |
2 | พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ | ถึงแก่กรรม 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 | |
3 | นิติวัฒน์ จันทร์สว่าง | ||
4 | ยุทธพล อังกินันทน์ | ||
5 | ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ | แทน ชุมพล; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556[37] | |
7 | ฐนนท์ศรณ์ เลิศฤทธิ์ศิริกุล | แทน สนั่น; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 (ข้ามลำดับที่ 6) |
พรรครักประเทศไทย (4)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ | ลาออก 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556[38] | |
2 | ชัยวัฒน์ ไกรฤกษ์ | ||
3 | โปรดปราน โต๊ะราหนี | ||
4 | พงษ์ศักดิ์ เรือนเงิน | ลาออก 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 | |
5 | สมเพชร แต่งงาม | แทน พงษ์ศักดิ์; เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555[39] |
พรรคชาติพัฒนา (2)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์ | ||
2 | ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง |
พรรครักษ์สันติ (1)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ |
พรรคมาตุภูมิ (1)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน |
พรรคพลังชล (1)
แก้# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์ |
# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
1 | อภิรัต ศิรินาวิน |
# | รายนาม | เพิ่มเติม | |
2 | พัชรินทร์ มั่นปาน | (ข้ามลำดับที่ 1) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน
กรุงเทพมหานคร
แก้มีรายนามดังนี้[40]
ภาคกลาง
แก้ภาคเหนือ
แก้มีรายนามดังนี้[43]
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แก้มีรายนามดังนี้[51]
ภาคใต้
แก้มีรายนามดังนี้[53]
ภาคตะวันออก
แก้มีรายนามดังนี้[54]
ภาคตะวันตก
แก้มีรายนามดังนี้[42]
การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แก้วันที่ | เหตุการณ์ | พท. | ��ชป. | ภจท. | ชทพ. | ชพน. | พช. | รปท. | มต. | รสต. | มช. | ปธม. | ไม่สังกัดพรรค | รวม | ว่าง |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
3 กรกฎาคม 2554 | เลือกตั้งทั่วไป | 265 | 159 | 34 | 19 | 7 | 7 | 4 | 2 | 1 | 1 | 1 | - | 500 | - |
เปิดสมัยประชุมสภาครั้งที่ 1 | |||||||||||||||
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) | |||||||||||||||
21 เมษายน 2555 | เลือกตั้งซ่อมปทุมธานี เขต 5 | 264 | 160 | 34 | 19 | 7 | 7 | 4 | 2 | 1 | 1 | 1 | - | 500 | - |
9 กุมภาพันธ์ 2556 | เลือกตั้งซ่อมลพบุรี เขต 4 | 265 | 160 | 33 | 19 | 7 | 7 | 4 | 2 | 1 | 1 | 1 | - | 500 | - |
16 มิถุนายน 2556 | เลือกตั้งซ่อมกรุงเทพมหานคร เขต 12 | 264 | 161 | 33 | 19 | 7 | 7 | 4 | 2 | 1 | 1 | 1 | - | 500 | - |
12 พฤศจิกายน 2556 | สส.พรรคประชาธิปัตย์ 8 คนลาออก ไปเป็นแกนนำ กปปส. |
264 | 153 | 33 | 19 | 7 | 7 | 4 | 2 | 1 | 1 | 1 | - | 492 | 8 |
8 ธันวาคม 2556 | สส.พรรคประชาธิปัตย์ทั้งหมดลาออก ตามด้วยชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ |
264 | - | 33 | 19 | 7 | 7 | 3 | 2 | 1 | 1 | 1 | - | 338 | 162 |
9 ธันวาคม 2556 | ยุบสภาผู้แทนราษฎร | 264 | 33 | 19 | 7 | 7 | 3 | 2 | 1 | 1 | 1 | - | 338 | 162 |
คณะกรรมาธิการ
แก้- คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมแ��ะสิทธิมนุษยชน (พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน)
- คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร (ไพจิต ศรีวรขาน)
- คณะกรรมาธิการกิจการองค์กรตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน (เชน เทือกสุบรรณ → สินิตย์ เลิศไกร)
- คณะกรรมาธิการกิจการชายแดนไทย (สามารถ มะลูลีม → อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี)
- คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุและผู้พิการ (อรุณี ชำนาญยา → สมชัย อัศวชัยโสภณ)
- คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ (ฉลาด ขามช่วง → เสรี สาระนันท์)
- คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ (ชาดา ไทยเศรษฐ์)
- คณะกรรมาธิการการคมนาคม (เจือ ราชสีห์ → วิรัตน์ กัลยาศิริ)
- คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ (การุณ โหสกุล → สัญชัย วงษ์สุนทร)
- คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค (อนุสรณ์ ปั้นทอง → ฉลอง เรี่ยวแรง)
- คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน (ไชยา พรหมา → ชลน่าน ศรีแก้ว)
- คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ (สุนัย จุลพงศธร)
- คณะกรรมาธิการการตำรวจ (สมชาย โล่สถาพรพิพิธ → สากล ม่วงศิริ)
- คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ (ธนิตพล ไชยนันทน์)
- คณะกรรมาธิการการทหาร (อำนวย คลังผา → สมชาย วิษณุวงศ์)
- คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยวและกีฬา (ธเนศ เครือรัตน์ → พีระเพชร ศิริกุล)
- คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นริศ ขำนุรักษ์ → กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์)
- คณะกรรมาธิการการปกครอง (ชัย ชิดชอบ)
- คณะกรรมาธิการการปกครองส่วนท้องถิ่น (ปวีณ แซ่จึง → ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ)
- คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด (ประเสริฐ จันทรรวงทอง → ประเสริฐ บุญเรือง)
- คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย (สงวน พงษ์มณี → นพคุณ รัฐผไท)
- คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ (พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์)
- คณะกรรมาธิการการพลังงาน (มนตรี ปาน้อยนนท์)
- คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน (รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท → ศุภชัย ศรีหล้า)
- คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ (ชนินทร์ รุ่งแสง → นริศา อดิเทพวรพันธุ์)
- คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา (สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ → สุรพล เกียรติไชยากร)
- คณะกรรมาธิการการแรงงาน (นิทัศน์ ศรีนนท์ → ทองดี มนิสสาร)
- คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย → จตุพร เจริญเชื้อ)
- คณะกรรมาธิการการส่งเสริมราคาผลิตผลเกษตรกรรม (ธวัชชัย อนามพงษ์ → วิชัย ล้ำสุทธิ)
- คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์)
- คณะกรรมาธิการการศึกษา (ประกอบ รัตนพันธ์ → สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล)
- คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม (นันทนา ทิมสุวรรณ → ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์)
- คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล)
- คณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม (ร้อยโท ปรีชาพล พงษ์พานิช)
- คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม (ประเสริฐ บุญชัยสุข → วรรณรัตน์ ชาญนุกูล)
เกร็ดข้อมูล
แก้- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่อายุมากที่สุด 10 อันดับแรก มีดังนี้ (หมายเหตุ : นับจนถึงวันที 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
# | ภาพ | รายนาม | วันเกิด | อายุ | เกียรติประวัติ |
1 | ชัย ชิดชอบ พรรคภูมิใจไทย |
5 เมษายน พ.ศ. 2471 | 83 ปี | • อดีตประธานรัฐสภาและสภาผู้แทนราษฎร • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน • อดีตสมาชิกวุฒิสภา | |
2 | นิยม วรปัญญา พรรคเพื่อไทย |
8 มิถุนายน พ.ศ. 2473 | 81 ปี | • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
3 | อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ พรรคเพื่อไทย |
14 ตุลาคม พ.ศ. 2474 | 79 ปี | • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
4 | เจริญ คันธวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์ |
21 เมษายน พ.ศ. 2476 | 78 ปี | • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
5 | พลตำรวจโทวิโรจน์ เปาอินทร์ พรรคเพื่อไทย |
7 ธันวาคม พ.ศ. 2476 | 77 ปี | • อดีตรองนายกรัฐมนตรี • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง • อดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
6 | เสนาะ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย |
1 เมษายน พ.ศ. 2477 | 77 ปี | • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
7 | พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ พรรคชาติไทยพัฒนา |
7 กันยายน พ.ศ. 2478 | 75 ปี | • อดีตรองนายกรัฐมนตรี • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
8 | ร้อยตรีประพาส ลิมปะพันธุ์ พรรคชาติพัฒนา |
20 กันยายน พ.ศ. 2478 | 75 ปี | • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ • อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ • อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
9 | ชวรัตน์ ชาญวีรกูล พรรคภูมิใจไทย |
7 มิถุนายน พ.ศ. 2479 | 75 ปี | • อดีตรักษาการนายกรัฐมนตรี • อดีตรองนายกรัฐมนตรี • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
10 | ไพฑูรย์ แก้วทอง พรรคประชาธิปัตย์ |
18 สิงหาคม พ.ศ. 2479 | 74 ปี | • อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน • อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ |
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชายที่อายุน้อยที่สุด คือ เอกนัฎ พร้อมพันธุ์ (25 ปี 5 เดือน 25 วัน)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชายที่อายุมากที่สุด คือ ชัย ชิดชอบ (83 ปี)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงที่อายุน้อยที่ส���ด คือ น.ส.บุญย์ธิดา สมชัย (27 ปี)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงที่อายุมากที่สุด คือ ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช (71 ปี)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชายที่ได้รับเลือกตั้งมากครั้งที่สุด คือ ชวน หลีกภัย (15 สมัย)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงที่ได้รับเลือกตั้งมากครั้งที่สุด คือ อัญชลี วานิช เทพบุตร (5 สมัย)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชายที่ได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนมากที่สุด คือ สงวน พงษ์มณี (89,324 คะแนน)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงที่ได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนมากที่สุด คือ กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์ (108,559 คะแนน) [56]
ฉายารัฐสภา
แก้ตำแหน่ง | พ.ศ.2554[57] | พ.ศ.2555[58] | พ.ศ.2556[59] |
---|---|---|---|
ดาวเด่น | รังสิมา รอดรัศมี | วิสุทธิ์ ไชยณรุณ | งดตั้งฉายา (เนื่องจากยุบสภา) |
ดาวดับ | ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร | ประสิทธิ์ ไชยศรีษะ วรงค์ เดชกิจวิกรม รังสิมา รอดรัศมี | |
ฉายาสภาผู้แทนราษฎร | กระดองปูแดง | จองล้าง จ้องผลาญ | |
ฉายาวุฒิสภา | สังคโลก | ตระแกรง เลือกร่อน | |
ประธานสภาผู้แทนราษฎร | ค้อนปลอม ตราดูไบ | ค้อนน้อย หมวกแดง | |
ประธานวุฒิสภา | นายพลถนัดชิ่ง (ธีรเดช มีเพียร) |
ผลัดไม้ สุดท้าย (นิคม ไวยรัชพานิช) | |
ผู้นำฝ่ายค้าน | หล่อดีเลย์ | หล่อ รับ เละ | |
เหตุการณ์แห่งปี | องค์ประชุมรัฐสภาล่ม วันแถลงนโยบายของรัฐบาล |
พิจารณาร่างพ.ร.บ.ปรองดอง | |
คู่กัดแห่งปี | อรรถพร พลบุตร และ จตุพร พรหมพันธุ์ |
ชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ และ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง | |
วาทะแห่งปี | “คำวินิจฉัยประธานถือเป็นที่สิ้นสุด จะผิดหรือถูกเป็นอีกเรื่องหนึ่ง” (สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์) |
เต็มใจเป็นขี้ข้า (เฉลิม อยู่บำรุง) |
อ้างอิง
แก้- ↑ พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2554ราชกิจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนที่ 61ก หน้า 1 วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
- ↑ สภาฯลงมติเลือก"สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์"นั่งปธ.ตามคาด "ปู"เผยรายชื่อครม.เสร็จแล้ว50%
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (จำนวน 109 คน)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-12. สืบค้นเมื่อ 2012-05-10.
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 2)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-12. สืบค้นเมื่อ 2012-05-10.
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 3)
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 4)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-14. สืบค้นเมื่อ 2012-05-10.
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 5)
- ↑ "ยงยุทธ วิชัยดิษฐ แถลงลาออกหัวหน้าพรรค และ ส.ส.เพื่อไทย แล้ว". kapook.com. 2012-10-04.
- ↑ "ปลอดประสพ-ประชา ลาออกจาก ส.ส. แล้ว". kapook.com. 2012-10-31.
- ↑ Ltd.Thailand, VOICE TV (2012-05-18). "มติศาล รธน. 7 ต่อ 1 "จตุพร"สิ้นสภาพ ส.ส." VoiceTV.
- ↑ ""ชัจจ์" ลาออกจาก ส.ส. ปัดกดดัน รมต.คนอื่นให้ทำตาม". mgronline.com. 2011-08-23.
- ↑ "ชัดแล้ว บัณฑูร สุภัควานิช ลาออกจริง". www.thairath.co.th. 2012-02-28.
- ↑ "วิเชียรลาออกสส.11พค.ชิงนายกฯอบจ.อุดร". posttoday. 2012-05-08.
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ "'แซม'ลาออกส.ส.บัญชีรายชื่อ เลื่อน'บิ๊กแป๊ะ'แทน". www.thairath.co.th. 2013-05-27.
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง ราชกิจานุเบกษา
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (ลำดับที่ 70 พรรคเพื่อไทย 1.นายสรรพภัญญู ศิริไปล์)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางสาวมาลินี อินฉัตร)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายชินวัฒน์ หาบุญพาด)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายเอกธนัช อินทร์รอด)
- ↑ "ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายถิรชัย วุฒิธรรม)" (PDF).
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสมเกียรติ ศรลัมพ์)
- ↑ มติ ปชป. ลาออก ส.ส. ทั้งพรรค อภิสิทธิ์เรียกร้องให้คืนอำนาจประชาชน
- ↑ "มะเร็งคร่าชีวิต 'ปัญญวัฒน์ บุญมี' ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ ปชป". www.thairath.co.th. 2013-02-27.
- ↑ "มะเร็งคร่าชีวิต 'พิชาญเมธ'ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์ ปชป". www.thairath.co.th. 2013-03-20.
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์)
- ↑ ประกาศสภาผู้เทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายอิสรา สุนทรวัฒน์)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่าง (นายชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่าง (นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์)
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางมณทิพย์ ศรีรัตนา)
- ↑ ประกาศสภาผู้เทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์)
- ↑ "ชูวิทย์ รักษาคำพูดลาออกตามพรรคประชาธิปัตย์". www.sanook.com/news. 2013-12-09.
- ↑ เปิดสภา รับส.ส.ใหม่คนล่าสุด "สมเพชร แต่งงาม" เสียบแทน พงษ์ศักดิ์ เรือนเงิน
- ↑ เปิดผลการเลือกตั้ง ส.ส.กรุงเทพ ปชป. 23 เพื่อไทย 10 ที่นั่ง
- ↑ ด่วน!!! ศาลฎีกาฯเคาะแล้วตัดสิทธิ์ "เก่ง-การุณ"-สั่งเลือกตั้งส.ส.ใหม่?[ลิงก์เสีย]
- ↑ 42.0 42.1 เปิดผลคะแนนเลือกตั้งภาคกลาง "เพื่อไทย"นำ41ที่นั่ง ปชป.ได้25เสียง ภท.-ชทพ.ไล่บี้กัน
- ↑ 43.0 43.1 เปิดผลคะแนนเลือกตั้ง ส.ส.ภาคเหนือ "พท. 49 - ปชป. 13 - ภท.2"
- ↑ "ส.ส.เขต 5 ปทุมธานี พรรคเพื่อไทย ลาออก". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-07. สืบค้นเมื่อ 2012-03-08.
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
- ↑ 9 ก.พ.เลือกตั้งซ่อมส.ส.ลพบุรี เลี่ยงตรุษจีนกลัวคนมาใช้สิทธิน้อย
- ↑ ผู้สมัคร ส.ส. เลือกตั้งซ่อมจังหวัดสุโขทัย เขต 3 ลงพื้นที่หาเสียง[ลิงก์เสีย]
- ↑ คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (คดีหมายเลขดำที่ อม. 3/2554 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 1/2555 ระหว่างคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้ร้อง นางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ ผู้คัดค้าน)
- ↑ ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง (จังหวัดเชียงใหม่ นายเกษม นิมมลรัตน์ พรรคเพื่อไทย)
- ↑ ไรคไตคร่าชีวิต"สถาพร มณีรัตน์"ส.ส.ลำพูนเพื่อไทย
- ↑ เปิดผลคะแนนภาคอีสาน เพื่อไทยกวาดเรียบเกินร้อยเสียง จาก126เสียง
- ↑ แจกเหลืองเขต 2 หนองคายเพื่อไทย ลต.ซ่อม 31 ก.ค.
- ↑ เปิดผลคะแนนเลือกตั้งภาคใต้ ประชาธิปัตย์กวาดเรียบ 50 ที่นั่ง พท.ไม่ติดฝุ่น
- ↑ เปิดผลคะแนนเลือกตั้งภาคตะวันออก "พลังชล"มาแรง ฉะเชิงเทรา"เพื่อไทย"โดนปชป.โค่นเรียบ!
- ↑ ศาลฎีกาสั่งเลือกตั้ง ส.ส.ชลบุรีใหม่ แทน “อุกฤษณ์ ตั้นสวัสดิ์” พรรคพลังชล[ลิงก์เสีย]
- ↑ "ที่สุด"ของส.ส.ชุดที่ 24 จากมติชนเก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "สื่อสภาฯให้ฉายาปี 54 สภาผู้แทนราษฎร: กระดองปูแดง". Thai PBS.
- ↑ "สื่อรัฐสภาตั้งฉายา ส.ส."จองล้าง จ้องผลาญ "- ส.ว."ตระแกรง เลือกร่อน"-วาทะแห่งปี "เต็มใจเป็นขี้ข้า"- ดาวเด่น "วิสุทธิ์ ไชยณรุณ"". Thai PBS.
- ↑ "สื่อสภางดตั้งฉายาปี56". posttoday. 2013-12-30.