การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 42,759,001 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 69.94% ( 7.52 จุด) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต รหัสสี: ไทยรักไทย, ประชาธิปัตย์, ชาติไทย, ความหวังใหม่,ชาติพัฒนา, อื่น ๆ แต่ละจังหวัดอาจประกอบด้วยที่นั่งเดียวหรือหลายที่นั่งก็ได้ โดยสีที่ปรากฏนี้บ่งบอกถึงพรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในจังหวัดนั้น | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
องค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร หลังจากการเลือกตั้ง | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 20[1] จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยสาเหตุมาจากที่ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ได้ประ���าศยุบสภา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543[2] นับว่าเป็น การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในระบบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ซึ่งแบ่งเป็นระบบบัญชีรายชื่อ 100 คน และแบบแบ่งเขตเลือกตั้งอีก 400 คน ภายใต้การกำกับดูแลและจัดการเลือกตั้งของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
การเลือกตั้งในครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งครั้งแรกที่มีการพิจารณาเรื่องร้องเรียนผลการเลือกตั้ง ก่อนประกาศรับรอง และมีการประกาศให้จัดการเลือกตั้งใหม่ โดยในการรับรองผลการเลือกตั้งในรอบแรก มีการรับรองจำนวนทั้งสิ้น 338 คน และประกาศให้เลือกตั้งใหม่ 62 เขตเลือกตั้ง
การย้ายสังกัดพรรคการเมือง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ย้ายไปพรรคถิ่นไทย
- พิจิตต รัตตกุล อดีต สส. กรุงเทพมหานคร และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- บุญพันธ์ แขวัฒนะ สส.พระนครศรีอยุธยา
- มุกดา พงษ์สมบัติ สส.ขอนแก่น
- สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ สส.ขอนแก่น
- สมศักดิ์ เทพสุทิน สส.สุโขทัย
- สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ สส.เพชรบูรณ์
- สุวิทย์ คุณกิตติ สส.ขอนแก่น
- สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ย้ายไปพรรคเสรีธรรม
- ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข สส.เลย
ย้ายไปพรรคชาติพัฒนา
- สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ สส.เชียงราย
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ สส.หนองบัวลำภู
- เกรียง กัลป์ตินันท์ สส.อุบลราชธานี
- จาตุรนต์ ฉายแสง สส.ฉะเชิงเทรา
- เจริญ จรรย์โกมล สส.ชัยภูมิ
- ชูชาติ หาญสวัสดิ์ สส.ปทุมธานี
- ชูชีพ หา���สวัสดิ์ สส.ปทุมธานี
- ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ สส.อุบลราชธานี
- ฐานิสร์ เทียนทอง สส.สระแก้ว
- ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ สส.เชียงราย
- ทรงศักดิ์ ทองศรี สส.บุรีรัมย์
- ธนเทพ ทิมสุวรรณ สส.เลย
- ธีระชัย ศิริขันธ์ สส.อำนาจเจริญ
- พิมพา จันทร์ประสงค์ สส.นนทบุรี
- วาณี หาญสวัสดิ์ อดีต สส.ปทุมธานี
- วิทยา เทียนทอง สส.สระแก้ว
- ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ สส.กำแพงเพชร
- สรอรรถ กลิ่นประทุม สส.ราชบุรี
- สุนทร วิลาวัลย์ สส.ปราจีนบุรี
- สุพล ฟองงาม สส.อุบลราชธานี
- เสนาะ เทียนทอง สส.สระแก้ว
- อดิศร เพียงเกษ สส.ขอนแก่น
- อุดม ไกรวัตนุสสรณ์ สส.สมุทรสาคร
- บุญรื่น ศรีธเรศ โฆษกพรรคความหวังใหม่
- สันติ พร้อมพัฒน์ สส.เพชรบูรณ์
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- จาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ สส.ศรีสะเกษ
- ทศพร เสรีรักษ์ สส.แพร่
- วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล สส.แพร่
- วาสิต พยัคฆบุตร สส.ลำปาง
- ธีระชัย แสนแก้ว รองเลขาธิการพรรคชาติไทย
ย้ายไปพรรคประชาธิปัตย์
- เรวัต สิรินุกุล สส.กาญจนบุรี
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- จำลอง ครุฑขุนทด สส.นครราชสีมา
- ประทวน เขียวฤทธิ์ สส.สุโขทัย
- พินิจ จันทรสุรินทร์ สส.ลำปาง
- ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร สส.ลำปาง
- สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ สส.เชียงใหม่
- สมาน ภุมมะกาญจนะ สส.ปราจีนบุรี
- สิทธิชัย โควสุรัตน์ สส.อุบลราชธานี
- โสภณ เพชรสว่าง สส.บุรีรัมย์
- วัฒนา เมืองสุข สส.ปราจีนบุรี
- วัลลภ สุปริยศิลป์ สส.น่าน
- วีระ ปัทมสิริวัฒน์ สส.พิษณุโลก
ย้ายไปพรรคความหวังใหม่
- สุชาติ ตันเจริญ สส.ฉะเชิงเทรา
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- เทวฤทธิ์ นิกรเทศ กรรมการบ��ิหารพรรคประชากรไทย
- ปิติพงศ์ เต็มเจริญ อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- มงคล กิมสูนจันทร์ อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- ลลิตา ฤกษ์สำราญ สส.กรุงเทพมหานคร
ย้ายไปพรรคราษฎร
- ฉลอง เรี่ยวแรง สส.นนทบุรี
- ประกอบ สังข์โต สส.นนทบุรี
- พูนผล อัศวเหม สส.สมุทรปราการ
- มั่น พัธโนทัย สส.สมุทรปราการ
- วัฒนา อัศวเหม สส.สมุทรปราการ
- สมบุญ ระหงษ์ สส.สมุทรปราการ
- สมพร อัศวเหม สส.สมุทรปราการ
- สุชาติ บรรดาศักดิ์ สส.นนทบุรี (ย้ายไปพรรคไทยรักไทยในการเลือกตั้งครั้งนี้)
- สำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์ สส.นนทบุรี (ย้ายไปพรรคชาติพัฒนาในการเลือกตั้งครั้งนี้)
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- ชูศักดิ์ ศิรินิล
- ธวัชชัย สัจจกุล อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- ยงยุทธ ติยะไพรัช สส.เชียงราย
- ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ สส.พะเยา
- วิสาร เตชะธีราวัฒน์ สส.เชียงราย
- วิชาญ มีนชัยนันท์ สก.กรุงเทพมหานคร
- สุเมธ ฤทธาคนี อดีตผู้สมัคร สส.ปทุมธานี
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- ทักษิณ ชินวัตร อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- พงศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตผู้สมัคร สส.กรุงเทพมหานคร
- วัลลภ ยังตรง อดีต สส.สมุทรปราการ
- ศันสนีย์ นาคพงศ์ อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ สส.กรุงเทพมหานคร
- สุธรรม แสงประทุม อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- สุธา ชันแสง อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี อดีตผู้สมัคร สส.กรุงเทพมหานคร
- อรทัย กาญจนชูศักดิ์ อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
ยุบรวมกับพรรคความหวังใหม่
- เฉลิม อยู่บำรุง สส.กรุงเทพมหานคร
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
- เผดิมชัย สะสมทรัพย์ สส.นครปฐม
- ไชยา สะสมทรัพย์ สส.นครปฐม
- ไชยยศ สะสมทรัพย์ สส.นครปฐม
- อุทัย พิมพ์ใจชน อดีต สส.ชลบุรี
ย้ายไปพรรคชาติไทย
- กรุณา ชิดชอบ สส.บุรีรัมย์
- ชัย ชิดชอบ สส.บุรีรัมย์
- เนวิน ชิดชอบ สส.บุรีรัมย์
รูปแบบการเลือกตั้ง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ระบบบัญชีรายชื่อ
[แก้]
ผลการเลือกตั้ง[แก้]ผลอย่างเป็นทางการ[แก้]
หลังการเลือกตั้ง[แก้]คณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ดังต่อไปนี้
อ้างอิง[แก้]
ดูเพิ่ม[แก้] |