ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

10 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ78.83%
  First party Second party Third party
 
Thaksin crop.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Bhichit Rattakul 2008 (cropped).jpg
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ถิ่นไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 9 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น9 ลดลง1 Steady0
คะแนนเสียง 413,017 254,830 20,432
% 49.58 30.59 2.45

  Fourth party Fifth party
 
กร_ทัพพะรังสี_1970.jpg
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
พรรค ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 4 4
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง4 ลดลง4
คะแนนเสียง 19,269 18,211
% 2.31 2.19

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 10 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดเชียงใหม่)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 413,017 49.58%
ประชาธิปัตย์ 254,830 30.59%
ถิ่นไทย 20,432 2.45%
ชาติพัฒนา 19,269 2.31%
ความหวังใหม่ 18,211 2.19%
อื่น ๆ 107,319 12.88%
ผลรวม 833,078 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
49.58%
ประชาธิปัตย์
  
30.59%
ถิ่นไทย
  
2.45%
ชาติพัฒนา
  
2.31%
ความหวังใหม่
  
2.19%
อื่น ๆ
  
12.88%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 41,869 52.10% 24,977 31.08% 13,516 16.82% 80,362 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 2 48,042 53.48% 29,446 32.78% 12,350 13.74% 89,838 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 40,945 46.35% 25,758 29.17% 21,634 24.48% 88,337 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 4 43,283 46.79% 31,268 33.80% 17,958 19.41% 92,509 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 50,731 51.19% 34,497 34.81% 13,877 14.00% 99,105 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 6 55,024 56.02% 26,091 26.56% 17,115 17.42% 98,230 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 7 45,998 57.10% 13,133 16.30% 21,428 26.60% 80,559 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 8 32,270 45.24% 17,238 24.16% 22,327 30.60% 71,835 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 9 22,351 37.33% 26,402 44.09% 11,126 18.58% 59,879 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 10 32,504 44.88% 26,020 35.93% 13,900 19.19% 72,424 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 413,017 49.58% 254,830 30.59% 165,231 19.83% 833,078 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดเชียงใหม่)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ไทยรักไทย 10 343,606 47.19% 9 เพิ่มขึ้น9 90.00%
ประชาธิปัตย์ 10 195,439 26.84% 1 ลดลง1 10.00%
ความหวังใหม่ 8 80,142 11.01% 0 ลดลง4 0.00%
ชาติพัฒนา 6 38,773 5.33% 0 ลดลง4 0.00%
อื่น ๆ 34 70,106 9.63% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 68 728,066 100.00% 10 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
47.19%
ประชาธิปัตย์
  
26.84%
ความหวังใหม่
  
11.01%
ชาติพัฒนา
  
5.33%
อื่น ๆ
  
9.63%
ที่นั่ง
ไทยรักไทย
  
90.00%
ประชาธิปัตย์
  
10.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 33,605 47.54% 25,686 36.34% 11,402 16.12% 70,693 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 2 45,981 56.12% 25,882 31.59% 10,076 12.29% 81,939 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 29,542 38.31% 20,085 26.04% 27,497 35.65% 77,124 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 4 27,900 33.62% 17,229 20.76% 37,852 45.62% 82,981 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 39,521 44.05% 26,911 29.99% 23,288 25.96% 89,720 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 6 49,728 57.56% 20,161 23.34% 16,499 19.10% 86,388 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 7 45,289 59.84% 6,708 8.86% 23,693 31.30% 75,690 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 8 21,760 41.24% 18,084 34.24% 12,922 24.49% 52,766 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 9 20,281 39.95% 22,193 43.72% 8,294 16.33% 50,768 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 10 29,999 50.00% 12,500 20.83% 17,498 29.17% 59,997 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 343,606 47.19% 195,439 26.84% 189,021 25.97% 728,066 100.00%

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดเชียงใหม่
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 3,957 0.48
ชาวไทย (2) 1,519 0.18
กสิกรไทย (3) 1,785 0.21
นิติมหาชน (4) 4,797 0.58
ความหวังใหม่ (5) 18,211 2.19
รักสามัคคี (6) 4,921 0.59
ไทยรักไทย (7) 413,017 49.58
ชาติประชาธิปไตย (8) 5,802 0.70
ชาติไทย (9) 4,224 0.51
สันติภาพ (10) 728 0.09
ถิ่นไทย (11) 20,432 2.45
พลังประชาชน (12) 1,838 0.22
ราษฎร (13) 12,345 1.48
สังคมใหม่ (14) 7,220 0.87
เสรีธรรม (15) 5,934 0.71
ประชาธิปัตย์ (16) 254,830 30.59
อำนาจประชาชน (17) 8,471 1.02
ประชากรไทย (18) 3,100 0.37
ไท (19) 2,054 0.25
ก้าวหน้า (20) 1,096 0.13
ชาติพัฒนา (21) 19,269 2.31
แรงงานไทย (22) 1,033 0.12
เผ่าไท (23) 1,034 0.12
สังคมประชาธิปไตย (24) 1,807 0.22
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 1,325 0.16
พัฒนาสังคม (26) 2,995 0.36
ไทยช่วยไทย (27) 3,563 0.43
ไทยมหารัฐ (28) 1,228 0.15
ศรัทธาประชาชน (29) 387 0.05
วิถีไทย (30) 513 0.06
ไทยประชาธิปไตย (31) 7,899 0.95
พลังธรรม (32) 2,750 0.33
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 1,784 0.21
กิจสังคม (34) 1,955 0.24
เกษตรมหาชน (35) 2,335 0.28
พลังเกษตรกร (36) 3,188 0.38
สยาม (37) 3,732 0.45
บัตรดี 833,078 95.48
บัตรเสีย 22,902 2.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 16,613 1.90
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 872,593 78.83
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,106,980 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลช้างเผือก ตำบลสุเทพ ตำบลศรีภูมิ ตำบลป่าตัน ตำบลช้างม่อย ตำบลพระสิงห์ ตำบลช้างคลาน ตำบลหายยา และตำบลแม่เหียะ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ปกรณ์ บูรณุปกรณ์ (7) 33,605 47.54
ประชาธิปัตย์ สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล (16)* 25,686 36.34
ถิ่นไทย ปราโมทย์ ทองทัศน์ (11) 5,166 7.31
ความหวังใหม่ เทอดศักดิ์ โกไศยกานนท์ (5) 3,483 4.93
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ธงชัย ระมิงค์วงศ์ (21) 1,401 1.98
ชาติไทย สุโรจน์ นิมมลรัตน์ (9) 596 0.84
ประชากรไทย มนตรี บุญทวี (18) 332 0.47
เกษตรมหาชน สมศักดิ์ บุญตระกูลพูนทวี (35) 316 0.45
กิจสังคม ทัศนัย บูรณุปกรณ์ (34) 108 0.15
ผลรวม 70,693 100.00
บัตรดี 70,693 82.63
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,726 11.37
บัตรเสีย 5,134 6.00
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 85,553 69.30
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,457 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลวัดเกต ตำบลหนองป่าครั่ง ตำบลท่าศาลา ตำบลหนองหอย ตำบลป่าแดด และตำบลฟ้าฮ่าม) และอำเภอสารภี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย เยาวภา วงศ์สวัสดิ์ (7) 45,981 56.12
ประชาธิปัตย์ บรรจง ตะริโย (16) 25,882 31.59
ความหวังใหม่ อนุสรณ์ คุณานุสรณ์ (5) 3,692 4.51
ถิ่นไทย ชัยยงค์ ภูมิประภาพงศ์ (11) 2,714 3.31
ชาติไทย พงศ์ สุภาวสิทธิ์ (9) 1,806 2.20
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สมบูรณ์ สู่ประเสริฐ (21) 1,006 1.23
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ประทีป คชศิลา (15) 554 0.68
ไทยมหารัฐ กัลยา วรรณกูล (28) 158 0.19
เกษตรมหาชน วรนารถ วงศ์ธานี (35) 146 0.18
ผลรวม 81,939 100.00
บัตรดี 81,939 87.27
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,582 5.94
บัตรเสีย 6,379 6.79
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,900 81.34
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,439 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลสันผีเสื้อ) อำเภอแม่ริม และอำเภอแม่แตง (ยกเว้นตำบลแม่หอพระ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย บุญทรง เตริยาภิรมย์ (7) 29,542 38.31
ประชาธิปัตย์ บุศรา โพธิสุข (16) 20,085 26.04
ความหวังใหม่ เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่ (5) 14,920 19.35
ราษฎร จ่าสิบตำรวจ อุดม วรวัลย์ (13)✔ 9,800 12.71
ถิ่นไทย เดือนเพ็ญ จันทะวาลย์ (11) 1,194 1.55
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) บรรจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ (15) 1,062 1.38
ประชากรไทย สายพิม จันทร์นวล (18) 372 0.48
ไทยมหารัฐ วิชัย กันทาสี (28) 149 0.19
ผลรวม 77,124 100.00
บัตรดี 77,124 83.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,278 4.65
บัตรเสีย 10,668 11.59
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,070 82.47
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,634 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอแม่แตง (เฉพาะตำบลแม่หอพระ) อำเภอพร้าว และอำเภอสันทราย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วิทยา ทรงคำ (7) 27,900 33.62
ความหวังใหม่ กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ (5)* 21,720 26.18
ประชาธิปัตย์ ขวัญชัย สกุลทอง (16) 17,229 20.76
ราษฎร โสภณ โกชุม (13) 12,281 14.80
ถิ่นไทย วัฒนพร ศรีวิชัย (11) 1,606 1.94
ชาติไทย มอนอินทร์ รินคำ (9)✔ 792 0.95
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) นิทัศน์ ลำมณี (15) 791 0.95
ไทยมหารัฐ สุดาพร ทะนันไชย (28) 122 0.15
ผลรวม 82,981 100.00
บัตรดี 82,981 85.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,164 4.31
บัตรเสีย 9,414 9.75
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,559 83.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,066 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสันกำแพง และ กิ่งอำเภอแม่ออน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พรชัย อรรถปรียางกูร (7) 39,521 44.05
ประชาธิปัตย์ พงศ์ประยูร ราชอาภัย (16) 26,911 29.99
ความหวังใหม่ ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (5)* 22,274 24.83
ถิ่นไทย เรวัติ ปาละวิชัย (11) 1,014 1.13
ผลรวม 89,720 100.00
บัตรดี 89,720 86.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,548 3.43
บัตรเสีย 10,069 9.74
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,337 85.16
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,338 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 6

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอสันป่าตอง อำเภอหางดง และอำเภอสะเมิง (เฉพาะตำบลสะเมิงใต้ และตำบลสะเมิงเหนือ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย นพคุณ รัฐผไท (7) 49,728 57.56
ประชาธิปัตย์ อำนวยพร สรรพตานนท์ (16) 20,161 23.34
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) บุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ (21)* 12,943 14.98
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) พันตำรวจโท ศักดิภัท เชาวน์ลักษณ์สกุล (15) 2,537 2.94
ชาติไทย โศภณ สุวรรณจันทร์ (9) 808 0.94
เกษตรมหาชน สุพล ใจตุ้ย (35) 211 0.24
ผลรวม 86,388 100.00
บัตรดี 86,388 84.19
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,405 4.29
บัตรเสีย 11,816 11.52
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 102,609 85.06
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 120,631 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 7

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอสะเมิง (ยกเว้นตำบลสะเมิงใต้ และตำบลสะเมิงเหนือ) อำเภอแม่แจ่ม (เฉพาะตำบลบ้านจันทร์ ตำบลแจ่มหลวง ตำบลแม่แดด และตำบลแม่นาจร) อำเภอแม่วาง อำเภอจอมทอง และ กิ่งอำเภอดอยหล่อ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สุรพล เกียรติไชยากร (7)✔ 45,289 59.84
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ณรงค์ ภูอิทธิวงศ์ (21)* 22,286 29.44
ประชาธิปัตย์ เชิงชัช สุภาศรี (16) 6,708 8.86
ความหวังใหม่ วสันต์ วัชวงษ์ (5) 902 1.19
ชาติไทย โสภณ อรุณเนตร์ (9) 356 0.47
ไทยมหารัฐ ธนกร สีกา (28) 149 0.20
ผลรวม 75,690 100.00
บัตรดี 75,690 89.86
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,771 2.10
บัตรเสีย 6,770 8.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 84,231 75.12
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 112,134 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 8

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอแม่แจ่ม (ยกเว้นตำบลบ้านจันทร์ ตำบลแจ่มหลวง ตำบลแม่แดด และตำบลแม่นาจร) อำเภอฮอด อำเภอดอยเต่า และอำเภออมก๋อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ผณินทรา ภัคเกษม (7)✔ 21,760 41.24
ประชาธิปัตย์ ขุนทอง อินทร์ไทย (16) 18,084 34.27
ความหวังใหม่ อำนวย ยศสุข (5)* 10,995 20.84
ชาติไทย สุวิวัฒน์ จันทร์ประเสริฐ (9) 1,466 2.78
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ศรีมุกข์ ติลผานันท์ (21) 461 0.87
ไทยมหารัฐ ณัฎฐ์ ทะนันไชย (28)
ผลรวม 52,766 100.00
บัตรดี 52,766 69.50
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,585 2.09
บัตรเสีย 21,566 28.41
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,917 71.26
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,540 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 9

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอไชยปราการ อำเภอเวียงแหง อำเภอเชียงดาว และอำเภอฝาง (เฉพาะตำบลแม่ข่า)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ยงยุทธ สุวภาพ (16) 22,193 43.72
ไทยรักไทย ทวีศักดิ์ สุภาศรี (7)* 20,281 39.95
ราษฎร เจริญ เชาวน์ประยูร (13)✔ 2,726 5.37
ความหวังใหม่ ณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย (5)✔ 2,156 4.25
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สวงค์ แก่นตาคำ (15) 1,513 2.98
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) วิทวัต ตันสุหัช (21) 676 1.33
ชาติไทย ชูชาติ สามสาย (9) 603 1.19
ถิ่นไทย สมพร คำหลวง (11) 479 0.94
ประชากรไทย ธีระ เจียบุญหยก (18) 141 0.28
ผลรวม 50,768 100.00
บัตรดี 50,768 81.04
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,909 3.05
บัตรเสีย 9,963 15.91
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 62,640 76.52
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 81,861 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 10

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอแม่อาย และอำเภอฝาง (ยกเว้นตำบลแม่ข่า)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สันติ ตันสุหัช (7)* 29,999 50.00
ชาติไทย สมาจาร วิจารณ์ปรีชา (9) 16,914 28.19
ประชาธิปัตย์ มานะ แพรสกุล (16)✔ 12,500 20.83
ราษฎร ประสิทธิ์ วุฒินันชัย (13) 584 0.97
ผลรวม 59,997 100.00
บัตรดี 59,997 78.52
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,507 3.28
บัตรเสีย 13,906 18.20
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 76,410 78.06
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 97,880 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

การเลือกตั้งใหม่

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

ในภายหลังประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติให้ใบเหลืองแก่นายวิทยา ทรงคำ ว่าที่ ส.ส.เขต 4 จังหวัดเชียงใหม่ พรรคไทยรักไทย และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 4 จังหวัดเชียงใหม่ โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 29 มกราคม 2544

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง

ผลการเลือกตั้งใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วิทยา ทรงคำ (7) 27,133 37.21 +3.59
ความหวังใหม่ กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ (5)✔ 24,189 33.17 +6.99
ประชาธิปัตย์ ขวัญชัย สกุลทอง (16) 12,911 17.71 -3.05
ราษฎร โสภณ โกชุม (13) 7,561 10.37 -4.43
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) นิทัศน์ ลำมณี (15) 439 0.60 -0.35
ถิ่นไทย วัฒนพร ศรีวิชัย (11) 432 0.59 -1.35
ชาติไทย มอนอินทร์ รินคำ (9)✔ 208 0.29 -0.66
ไทยมหารัฐ สุดาพร ทะนันไชย (28) 52 0.07 -0.08
ผลรวม 72,925 100.00
บัตรดี 72,925 89.44
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,151 3.86
บัตรเสีย 5,462 6.70
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 81,538 70.40
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,817 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)