ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ69.84%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 5 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น5 Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 202,102 82,369 47,644
% 48.65 19.83 11.47

  Fourth party Fifth party
 
พรรค ความหวังใหม่ ราษฎร
ที่นั่งก่อนหน้า 1 4
ที่นั่งที่ชนะ 0 ไม่ส่งผู้สมัคร
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง4
คะแนนเสียง 6,415 596
% 1.54 0.14

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดนนทบุรี)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 202,102 48.65%
ประชาธิปัตย์ 82,369 19.83%
ชาติพัฒนา 47,644 11.47%
ความหวังใหม่ 6,415 1.54%
ราษฎร 596 0.14%
อื่น ๆ 76,309 18.37%
ผลรวม 415,435 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
48.65%
ประชาธิปัตย์
  
19.83%
ชาติพัฒนา
  
11.47%
ความหวังใหม่
  
1.54%
ราษฎร
  
0.14%
อื่น ๆ
  
18.37%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดนนทบุรี)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดนนทบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 971 0.23
ชาวไทย (2) 311 0.08
กสิกรไทย (3) 423 0.10
นิติมหาชน (4) 435 0.11
ความหวังใหม่ (5) 6,415 1.54
รักสามัคคี (6) 755 0.18
ไทยรักไทย (7) 202,102 48.65
ชาติประชาธิปไตย (8) 1,658 0.40
ชาติไทย (9) 8,989 2.16
สันติภาพ (10) 431 0.10
ถิ่นไทย (11) 25,201 6.07
พลังประชาชน (12) 648 0.16
ราษฎร (13) 596 0.14
สังคมใหม่ (14) 226 0.05
เสรีธรรม (15) 2,228 0.54
ประชาธิปัตย์ (16) 82,369 19.83
อำนาจประชาชน (17) 832 0.20
ประชากรไทย (18) 25,918 6.24
ไท (19) 340 0.08
ก้าวหน้า (20) 424 0.10
ชาติพัฒนา (21) 47,644 11.47
แรงงานไทย (22) 217 0.05
เผ่าไท (23) 167 0.04
สังคมประชาธิปไตย (24) 149 0.04
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 189 0.05
พัฒนาสังคม (26) 147 0.04
ไทยช่วยไทย (27) 930 0.22
ไทยมหารัฐ (28) 477 0.12
ศรัทธาประชาชน (29) 320 0.08
วิถีไทย (30) 147 0.04
ไทยประชาธิปไตย (31) 1,598 0.39
พลังธรรม (32) 675 0.16
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 432 0.10
กิจสังคม (34) 225 0.05
เกษตรมหาชน (35) 318 0.08
พลังเกษตรกร (36) 224 0.05
สยาม (37) 284 0.07
บัตรดี 415,435 94.77
บัตรเสีย 6,337 1.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 16,539 3.78
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 437,694 69.84
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 626,739 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลตลาดขวัญ ตำบลบางกระสอ ตำบลไทรม้า ตำบลบางรักน้อย ตำบลบางศรีเมือง และตำบลบางไผ่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย อุดมเดช รัตนเสถียร (7)✔ 29,221 39.90
ชาติไทย วิฑูร กรุณา (9) 13,338 18.21
ประชาธิปัตย์ สุเมต สุวรรณพรหม (16) 12,209 16.67
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ลักษณา เพียรเจริญทรัพย์ (21) 6,786 9.27
ประชากรไทย นิยม ประสงค์ชัยกุล (18) 4,935 6.74
ถิ่นไทย ธีรเวทย์ ประมวญรัฐการ (11) 4,555 6.22
ความหวังใหม่ กมล บันไดเพชร (5) 1,479 2.02
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) อิทธิกร ขำเดช (15) 719 0.98
ผลรวม 73,242 100.00
บัตรดี 73,242 89.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,912 7.19
บัตรเสีย 3,082 3.75
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 82,236 66.56
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,548 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลบางเขน และตำบลสวนใหญ่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย นิทัศน์ ศรีนนท์ (7) 28,650 42.43
ประชาธิปัตย์ พิเศษ รวมทรัพย์ (16) 18,532 27.44
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ประกอบ สังข์โต (21)* 10,525 15.59
ประชากรไทย กิตติชัย ปฏิภาณประเสริฐ (18) 4,583 6.79
ถิ่นไทย วัฒนา ล่วงลือ (11) 3,334 4.94
ความหวังใหม่ ประพัฒน์ หงษ์ทอง (5) 751 1.11
ชาติไทย ชวลิต จิตต์แจ้ง (9) 663 0.98
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) โสภณ บำรุงสงฆ์ (15) 284 0.42
ไทยมหารัฐ คงยุทธ ศิริชุมแสง (28) 163 0.24
ศรัทธาประชาชน ชญโรจน์ ธุระพันธ์ (29) 45 0.07
ผลรวม 67,530 100.00
บัตรดี 67,530 90.15
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,758 6.35
บัตรเสีย 2,622 3.50
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,910 67.84
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 110,428 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลบางกร่าง) อำเภอบางกรวย อำเภอบางใหญ่ และอำเภอไทรน้อย (เฉพาะตำบลหนองเพรางาย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พิมพา จันทร์ประสงค์ (7)* 36,002 45.05
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์ (21)* 28,664 35.87
ประชาธิปัตย์ ธรรมยุทธ สุทธิวิชา (16) 7,832 9.80
ประชากรไทย ยุพาภรณ์ มากกิตติ (18) 3,695 4.62
ถิ่นไทย ภุชงค์ น้อยสง่า (11) 2,811 3.52
ความหวังใหม่ อนันต์ จรรยาวิจิตร (5) 528 0.66
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) บรรณวัชร เทศผ่อง (15) 308 0.39
ศรัทธาประชาชน สุกิจ มหาพิรุณ (29) 82 0.10
ผลรวม 79,922 100.00
บัตรดี 79,922 87.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,993 6.53
บัตรเสีย 5,873 6.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,788 73.28
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,260 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอไทรน้อย (ยกเว้นตำบลหนองเพรางาย) อำเภอบางบัวทอง และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลคลองข่อย ตำบลอ้อมเกร็ด และตำบลท่าอิฐ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย (7) 43,656 49.12
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ฉลอง เรี่ยวแรง (21)* 17,752 19.98
ประชาธิปัตย์ ทศพล เพ็งส้ม (16) 16,536 18.61
ถิ่นไทย นาวาเอก ประจักษ์ วังกานนท์ (11) 3,934 4.43
ความหวังใหม่ สราวุธ ลาตีฟี (5) 3,622 4.08
ประชากรไทย เสนัชย์ ทองประดิษฐ์ (18) 3,371 3.79
ผลรวม 88,871 100.00
บัตรดี 88,871 86.98
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,573 6.43
บัตรเสีย 6,731 6.59
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 102,175 70.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 145,411 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลคลองข่อย ตำบลอ้อมเกร็ด และตำบลท่าอิฐ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สุชาติ บรรดาศักดิ์ (7)* 38,202 50.36
ประชาธิปัตย์ วรรณไชย ชัยพิพัฒน์ (16) 16,092 21.21
ประชากรไทย ประพาฬ จารุศังข์ (18) 10,419 13.74
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) วิถี วงษ์เพ็ชร์ (21) 4,946 6.52
ถิ่นไทย พลตรี เศก ทองไถ้ผา (11) 4,209 5.55
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) วานิช เมธาธำรงค์ศิริ (15) 1,074 1.42
ความหวังใหม่ อรทัย รัศมี (5) 656 0.87
เกษตรมหาชน เอนกนัน นันต๊ะคุม (35) 261 0.34
ผลรวม 75,859 100.00
บัตรดี 75,859 86.91
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,232 8.35
บัตรเสีย 4,106 4.74
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,580 70.91
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 122,092 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)