สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม
หน้าตา
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดนครพนม | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 4 |
คะแนนเสียง | 135,192 (เพื่อไทย) 131,496 (ภูมิใจไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | เพื่อไทย (2) ภูมิใจไทย (2) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
จังหวัดนครพนม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครพนมมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นาวาโท พระศรการวิจิตร ร.น. (ช้อย ชลทรัพย์)[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 10 สมัย ได้แก่ นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดนครพนม คือ นางมนพร เจริญศรี (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- จันทรสาขา (2 คน) ได้แก่ นายสงวน จันทรสาขา และนายสุรจิตต์ จันทรสาขา
- ศรีวรขาน (2 คน) ได้แก่ นายจำนงค์ ศรีวรขาน และนายไพจิต ศรีวรขาน
เขตเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 4 คน (เขตละ 4 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอนาแก, อำเภอมุกดาหาร, อำเภอดอนตาล, อำเภอคำชะอี, อำเภอปลาปาก และกิ่งอำเภอเรณูนคร · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน และกิ่งอำเภอนาหว้า |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอนาแก, อำเภอมุกดาหาร, อำเภอดอนตาล, อำเภอคำชะอี, อำเภอปลาปาก, อำเภอเรณูนคร และกิ่งอำเภอนิคมคำสร้อย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน และกิ่งอำเภอนาหว้า |
||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอนาแก, อำเภอมุกดาหาร, อำเภอดอนตาล, อำเภอคำชะอี, อำเภอปลาปาก, อำเภอเรณูนคร, กิ่งอำเภอนิคมคำสร้อย และกิ่งอำเภอหว้านใหญ่ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน และกิ่งอำเภอนาหว้า |
||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ ตำบลท่าค้อ และตำบลขามเฒ่า), อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม และอำเภอนาหว้า · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง และตำบลบ้านกลาง), อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร |
4 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ ตำบลท่าค้อ และตำบลขามเฒ่า), อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า และกิ่งอำเภอโพนสวรรค์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง และตำบลบ้านกลาง), อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร |
||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ ตำบลท่าค้อ และตำบลขามเฒ่า), อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอโพนสวรรค์ และกิ่งอำเภอนาทม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง และตำบลบ้านกลาง), อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร |
||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอโพนสวรรค์ และกิ่งอำเภอนาทม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (ยกเว้นตำบลวังตามัวและตำบลคำเตย) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอธาตุพนม, อำเภอเรณูนคร และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลคำเตย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอโพนสวรรค์ (ยกเว้นตำบลบ้านค้อ) และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลวังตามัว) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาแก, อำเภอปลาปาก และกิ่งอำเภอวังยาง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอนาทม และอำเภอโพนสวรรค์ (เฉพาะตำบลบ้านค้อ) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครพนม (ยกเว้นตำบลวังตามัว), อำเภอนาหว้า (ยกเว้นตำบลนาหว้าและตำบลนางัว), อำเภอธาตุพนม (เฉพาะตำบลนาถ่อน), อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาทม และอำเภอบ้านแพง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลวังตามัว), อำเภอนาหว้า (เฉพาะตำบลนาหว้าและตำบลนางัว), อำเภอธาตุพนม (ยกเว้นตำบลนาถ่อน), อำเภอนาแก, อำเภอปลาปาก, อำเภอเรณูนคร, อำเภอวังยาง และอำเภอโพนสวรรค์ |
4 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า, อำเภอบ้านแพง และอำเภอนาทม · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครพนม [(เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลนาทราย ตำบลโพธิ์ตาก ตำบลท่าค้อ และตำบลหนองญาติ (ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม)], อำเภอท่าอุเทน และอำเภอโพนสวรรค์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองนครพนม [(เฉพาะตำบลขามเฒ่า ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง ตำบลบ้านกลาง และตำบลหนองญาติ (นอกเขตเทศบาลเมืองนครพนม)], อำเภอธาตุพนม และอำเภอเรณูนคร · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง และตำบลวังตามัว), อำเภอนาแก, อำเภอปลาปาก และอำเภอวังยาง |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านแพง, อำเภอนาทม, อำเภอศรีสงคราม และอำเภอนาหว้า · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนสวรรค์, อำเภอท่าอุเทน และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ และตำบลท่าค้อ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเรณูนคร, อำเภอธาตุพนม และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลบ้านกลาง ตำบลดงขวาง ตำบลขามเฒ่า ตำบลคำเตย ตำบลโพธิ์ตาก และตำบลนาทราย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาแก, อำเภอวังยาง, อำเภอปลาปาก และอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลวังตามัว ตำบลกุรุคุ และตำบลบ้านผึ้ง) |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นาวาโท พระศรการวิจิตร ร.น. (ช้อย ชลทรัพย์) |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายพันธุ์ อินทุวงศ์ |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | ขุนอนุสรกรณี (ทะ พรหมประกาย) |
ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489
[แก้]เขต | มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม |
1 | นายพันธุ์ อินทุวงศ์ | นายปั่น แก้วมาตย์ |
2 | – | นายเกษม ศักดิ์เจริญ |
ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495
[แก้]ลำดับ | ชุดที่ 5 | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 | |
พ.ศ. 2491 | พ.ศ. 2492 เลือกตั้งเพิ่มเติม | ||
1 | นายเอื้อ จันทรวงศ์ | – | นายเอื้อ จันทรวงศ์ |
2 | นายพันธุ์ อินทุวงศ์ | – | นายพันธุ์ อินทุวงศ์ |
- การเลือกตั้ง พ.ศ. 2492 เป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนราษฎรที่เพิ่มขึ้น
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
[แก้]ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
นายสงวน จันทรสาขา | นายสงวน จันทรสาขา |
นายสุข รอบรู้ | นายสุข รอบรู้ |
นายชวน กิตติศรีวรพันธุ์ | นายบุนนาค อนันตชัย |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
[แก้]- พรรคสหประชาไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคประชาชน (พ.ศ. 2511)
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายจำนงค์ ศรีวรขาน |
2 | นายแสวง ธวัชวะชุม |
3 | นายชวน กิตติศรีวรพันธุ์ |
4 | นายไขแสง สุกใส |
ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522
[แก้]- พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคกิจสังคม
- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคชาติไทย
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | |||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายไขแสง สุกใส | นายเฉลียว ดีวงศ์ | นายถนอม แสงสุริยจันทร์ | นายแสวง ธวัชวะชุม | นายมงคล บุพศิริ |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายสุรจิตต์ จันทรสาขา | นายจำนงค์ ศรีวรขาน | นายวีรวร สิทธิธรรม | ||
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายเฉิดศักดิ์ แสนวิเศษ | นายเฉลียว ดีวงศ์ | นายวรพจน์ ณ ถลาง | นายจีระศักดิ์ พลสนะ | นายวีรวร สิทธิธรรม |
ชุดที่ 14–18; พ.ศ. 2526–2535
[แก้]- พรรคชาติไทย
- พรรคกิจสังคม
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ | นายทนง ศิริปรีชาพงษ์ | นายวีรวร สิทธิธรรม | นายกตัญญู อัครฮาด |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | พลเอก มานะ รัตนโกเศศ | นายวีรวร สิทธิธรรม | นายไขแสง สุกใส | |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายไพจิต ศรีวรขาน | |||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ | นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ | นายไพจิต ศรีวรขาน | |
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายทนง ศิริปรีชาพงษ์ (ลาออก) | นายมานะ คูสกุล | ||
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ (แทนนายทนง) |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
[แก้]เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ | |
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ | ||
นายมานะ คูสกุล | ||
2 | นายไพจิต ศรีวรขาน | |
นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
[แก้]เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544[3] | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายชวลิต วิชยสุทธิ์ |
2 | นายไพจิต ศรีวรขาน | นายไพจิต ศรีวรขาน |
นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล (แทนนายไพจิต) | ||
3 | นายมงคล บุพศิริ | นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ |
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ (แทนนายมงคล) | ||
4 | นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ |
5 | นายศุภชัย โพธิ์สุ | นายศุภชัย โพธิ์สุ |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
[แก้]- พรรคพลังประชาชน
- พรรคพลังประชาชน → พรรคภูมิใจไทย
- พรรคพลังประชาชน → พรรคเพื่อไทย
- พรรคเพื่อแผ่นดิน
- พรรคเพื่อไทย
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายศุภชัย โพธิ์สุ | |
นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นายสุริยา พรหมดี (แทนนายประสงค์) | |
2 | นายไพจิต ศรีวรขาน | |
นายอลงกต มณีกาศ |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
[แก้]เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายยุทธจักร เรืองวรบูรณ์ | นายศุภชัย โพธิ์สุ | นายภูมิพัฒน์ พชรทรัพย์ |
2 | นางมนพร เจริญศรี | ||
3 | นายไพจิต ศรีวรขาน | นายอลงกต มณีกาศ | |
4 | นายชูกัน กุลวงษา | นายชวลิต วิชยสุทธิ์ (ลาออกจากพรรค/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายชูกัน กุลวงษา |
รูปภาพ
[แก้]-
พลเอก มานะ รัตนโกเศศ
-
นายสงวน จันทรสาขา
-
นายไพจิต ศรีวรขาน
-
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
-
นายชวลิต วิชยสุทธิ์
-
นา��ศุภชัย โพธิ์สุ
-
นางมนพร เจริญศรี
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง เก็บถาวร 2020-09-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๙ ตอน ๒๙ก, ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๕, หน้า ๗
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดนครพนม เก็บถาวร 2012-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน