ประเทศไทยใน พ.ศ. 2503
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 179 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 15 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
- ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์:
- สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (8 – 16 กุมภาพันธ์)
- สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (2 – 5 มีนาคม)
- นายกรัฐมนตรี: สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (รัฐประหาร)
- รัฐสภา: สภาร่างรัฐธรรมนูญ
- ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ: หลวงสุทธิสารรณกร (แต่งตั้ง)
- ประธานศาลฎีกา: หลวงจำรูญเนติศาสตร์
เหตุการณ์
[แก้]กุมภาพันธ์
[แก้]- 4 กุมภาพันธ์ - สถาปนา วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี)
มีนาคม
[แก้]- 13 มีนาคม - วันก่อตั้งขบวนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปัตตานี
เมษายน
[แก้]- 16 เมษายน - ประเทศไทยมีแชมป์โลกมวยสากลคนแรกเมื่อ โผน กิ่งเพชร ชิงแชมป์โลกรุ่นฟลายเวท WBA ชนะคะแนน ปาสคาล เปเรซ ที่ สนามมวยเวทีลุมพินี
พฤษภาคม
[แก้]- 1 พฤษภาคม - การบินไทย เปิดให้บริการเที่ยวบินเที่ยวแรก
- 21 พฤษภาคม - ประเทศไทยประกาศเปลี่ยนแปลงวันชาติจากวันที่ 24 มิถุนายน มาเป็นวันที่ 5 ธันวาคม
ตุลาคม
[แก้]พฤศจิกายน
[แก้]- 9 พฤศจิกายน - เกิดเหตุไฟไหม้โรงละครศิลปากร (โรงละครแห่งชาติในเวลาต่อมา) จนตัวอาคารเสียหายทั้งหลัง[1]
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 12 มกราคม - วิทยา บุรณศิริ นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 15 กันยายน พ.ศ. 2565)
- 17 มกราคม - ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดง
- 26 มกราคม - ไชยา พรหมา นักการเมือง
กุมภาพันธ์
[แก้]- 12 กุมภาพันธ์ - นลินี ทวีสิน นักการเมือง
- 15 กุมภาพันธ์ - กัญจนา ศิลปอาชา นักการเมือง
มีนาคม
[แก้]- 17 มีนาคม - พรพิพัฒน์ เบญญศรี ทหาร
- 19 มีนาคม - สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ นักการเมือง
- 23 มีนาคม - อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ทหาร
เมษายน
[แก้]- 1 เมษายน - ประเสริฐ จันทรรวงทอง นักการเมือง
- 15 เมษายน - อนุชา นาคาศัย นักการเมือง
พฤษภาคม
[แก้]- 18 พฤษภาคม - ประภาส ชลศรานนท์ ศิลปินแห่งชาติ
- 19 พฤษภาคม - อุตตม สาวนายน นักการเมือง
- 26 พฤษภาคม - ลือชัย รุดดิษฐ์ ทหาร
- 29 พฤษภาคม - โอภาส ทศพร นักร้อง
มิถุนายน
[แก้]- 13 มิถุนายน - สุธา ชันแสง นักการเมือง
กรกฎาคม
[แก้]- 8 กรกฎาคม - บุญทรง เตริยาภิรมย์ นักการเมือง
- 12 กรกฎาคม - สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี
- 16 กรกฎาคม - ไชยยศ จิรเมธากร นักการเมือง
- 24 กรกฎาคม - วิชาญ มีนชัยนันท์ นักการเมือง
สิงหาคม
[แก้]- 3 สิงหาคม - อนุรักษ์ จุรีมาศ นักการเมือง
- 16 สิงหาคม - นันทิดา แก้วบัวสาย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
- 30 สิงหาคม - ญาณี จงวิสุทธิ์ นักแสดง
ตุลาคม
[แก้]- 4 ตุลาคม - นริศ ขำนุรักษ์ นักการเมือง
- 5 ตุลาคม - เพิ่มพูน ชิดชอบ นักการเมือง
- 17 ตุลาคม - ศรัณยู วงษ์กระจ่าง นักแสดง (ถึงแก่กรรม 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563)
- 31 ตุลาคม - ประชา ประสพดี นักการเมือง
พฤศจิกายน
[แก้]- 11 พฤศจิกายน - เนาวรัตน์ ซื่อสัตย์ นักแสดง
- 27 พฤศจิกายน - สิทธิชัย โควสุรัตน์ นักการเมือง
ธันวาคม
[แก้]- 2 ธันวาคม - ลลนา สุลาวัลย์ นักแสดง
วันถึงแก่กรรม
[แก้]มกราคม
[แก้]- 10 มกราคม - หม่อมเจ้าเผ่าเพ็ญพัฒน์ เพ็ญพัฒน์ (ประสูติ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2449)
เมษายน
[แก้]- 14 เมษายน - เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร นักการเมือง (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2457)
กรกฎาคม
[แก้]- 8 กรกฎาคม - เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2442)
สิงหาคม
[แก้]- 22 สิงหาคม - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย (ประสูติ 29 เมษายน พ.ศ. 2442)
พฤศจิกายน
[แก้]- 16 พฤศจิกายน - กันยา เทียนสว่าง นางงาม (เกิด 30 สิงหาคม พ.ศ. 2457)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ไฟไหม้ 'โรงละครศิลปากร' และพระที่นั่งศิวโมกข์ / สุจิตต์ วงษ์เทศ". matichonweekly.com. มติชนสุดสัปดาห์. 2022-03-03. สืบค้นเมื่อ 2023-01-21.