ประเทศไทยใน พ.ศ. 2542
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 218 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 54 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหา���ูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์ : พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- สยามมกุฎราชกุมาร: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะทรงดำรงพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ในขณะนั้น)
- นายกรัฐมนตรี:
- สภาผู้แทนราษฎร: ชุดที่ 20
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร: วันมูหะมัดนอร์ มะทา (ความหวังใหม่)
- วุฒิสภา: ชุดที่ 7
- ประธานวุฒิสภา: มีชัย ฤชุพันธุ์ (แต่งตั้ง)
- ประธานศาลฎีกา:
- ปิ่นทิพย์ สุจริตกุล (จนถึง 30 กันยายน)
- จเร อำนวยวัฒนา (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม)
เหตุการณ์
[แก้]เมษายน
[แก้]กันยายน
[แก้]- 19 กันยายน – เหตุการณ์โรงงานอบลำไยระเบิดในจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 ทำให้มีผู้เสียชีวิต 45 คน
ตุลาคม
[แก้]- 1 ตุลาคม - เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543: กลุ่มนักศึกษาพม่าที่ต่อต้านรัฐบาลทหารบุกยึดสถานทูตพม่าในกรุงเทพมหานคร จับตัวประกัน 89 คน
พฤศจิกายน
[แก้]- 23 พฤศจิกายน กรมราชทัณฑ์ ประหารชีวิต นางสมัย ปานอินทร์ด้วยการยิงเป้า โดยเป็นการประหารชีวิตผู้หญิงในประเทศไทยในรอบ 20 ปี นับตั้งแต่การประหารชีวิตกิ่งแก้ว ลอสูงเนิน ในปีพ.ศ. 2522[1]
ธันวาคม
[แก้]- 2 ธันวาคม - เกิดเหตุไฟไหม้ที่โรงงานไทยออยล์ สาขาพัทยา อันเนื่องมาจากถังเก็บน้ำมันเกิดระเบิด ส่งผลให้มียอดผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก
- 5 ธันวาคม – รถไฟฟ้าบีทีเอส หรือ รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา ระบบขนส่งมวลชนทางรางหรือรถไฟฟ้าสายแรกของประเทศไทยเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการ
ผู้เกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 7 มกราคม – แพ็กกี้ สกลนรี นักร้องลูกทุ่ง
- 14 มกราคม – ปุญญ์ปรีดี คุ้มพร้อม รอดสวาสดิ์ นักแสดง
- 27 มกราคม – ยศสุดา ลีลาปัญญาเลิศ บุตรสาวของสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
- 28 มกราคม – สิทธิโชค ภาโส นักฟุตบอล
กุมภาพันธ์
[แก้]- 21 กุมภาพันธ์ – เมธวิน โอภาสเอี่ยมขจร นักแสดง
- 23 กุมภาพันธ์ – ภุชพงศ์ นามสีฐาน นักฟุตบอล
มีนาคม
[แก้]- 2 มีนาคม – สุพรรณิการ์ จำเริญชัย นักแสดง
- 3 มีนาคม – นิชคุณ ขจรบริรักษ์ นักแสดง
- 4 มีนาคม – สุรเดช พินิวัตร์ นักร้อง
- 18 มีนาคม – กฤษดา กาแมน นักฟุตบอล
- 29 มีนาคม – นภาพร จรณวัต นักเทควันโด
เมษายน
[แก้]- 8 เมษายน – มิณทร์ ยงสุวิมล นักร้อง
- 30 เมษายน – กฤษฏ์ อำนวยเดชกร นักร้อง
พฤษภาคม
[แก้]- 3 พฤษภาคม – อนันต์ อาศัยไพรพนา นักร้องลูกทุ่ง
- 29 พฤษภาคม – ธีธัช รัตนศรีทัย นักร้อง
มิถุนายน
[แก้]- 9 มิถุนายน – อาทิตยา ตรีบุดารักษ์ นักร้อง
- 15 มิถุนายน – จตุรพัช สัทธรรม นักฟุตบอล
- 18 มิถุนายน – สรัณณัฏฐ์ ประดู่คู่ยามดี นักแสดง
- 19 มิถุนายน – รมิดา จีรนรภัทร นักร้อง
กรกฎาคม
[แก้]- 1 กรกฎาคม – จักรกริช พาละพล นักฟุตบอล
- 11 กรกฎาคม – กรชิต บุญสถิต์ภักดี นักแสดง
- 24 กรกฎาคม – นิโคลัส มิคเกลสัน นักฟุตบอล
- 30 กรกฎาคม – แอนชิลี สก็อต-เคมมิส นางแบบ
สิงหาคม
[แก้]- 12 สิงหาคม – แดนนี่ ลูเซียโน่ นักแสดง
กันยายน
[แก้]- 23 กันยายน – พงศกร จันทร์แก้ว นักร้องลูกทุ่ง
ตุลาคม
[แก้]- 8 ตุลาคม – พุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุล นักร้อง
- 11 ตุลาคม – ปภังกร ธวัชธนกิจ นักกอล์ฟ
- 21 ตุลาคม – เอกนิษฐ์ ปัญญา นักฟุตบอล
- 29 ตุลาคม – กิตติยา จิตรภักดี นักแสดง
พฤศจิกายน
[แก้]- 4 พฤศจิกายน – พิสิฐพงศ์ ช่างหล่อ นักแสดง
- 6 พฤศจิกายน – ชัชชุอร โมกศรี นักวอลเลย์บอล
- 25 พฤศจิกายน – ลลินา ชูเอ็ทท์ นักแสดง
ธันวาคม
[แก้]- 20 ธันวาคม – ระดับดาว ศรีระวงศ์ นักร้อง
- 24 ธันวาคม – เกศรินทร์ น้อยผึ้ง นักแสดง
ไม่ทราบวัน
[แก้]- เบนจา อะปัญ นักเคลื่อนไหวทางการเมือง
ผู้เสียชีวิต
[แก้]มกราคม
[แก้]- 23 มกราคม – บุญมา วงศ์สวรรค์ นักการเมือง (เกิด พ.ศ. 2460)
- 29 มกราคม – สง่า สรรพศรี นักการเมือง (เกิด พ.ศ. 2475)
กุมภาพันธ์
[แก้]- 9 กุมภาพันธ์ – จาตุรันต์ ศิริพงษ์ อาชญากร (เกิด พ.ศ. 2494)
- 10 กุมภาพันธ์ – พระธรรมมุนี (แพ เขมงฺกโร) พระราชาคณะ (เกิด พ.ศ. 2448)
- 14 กุมภาพันธ์ – ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ ประธานรัฐสภาคนที่ 14 (เกิด พ.ศ. 2458)
- 17 กุมภาพันธ์ – พระมหารัชมงคลดิลก (บุญเรือน ปุณฺณโก) พระราชาคณะ (เกิด พ.ศ. 2466)
มีนาคม
[แก้]- 4 มีนาคม – หม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า อาภากร (ประสูติ พ.ศ. 2457)
เมษายน
[แก้]- 29 เมษายน – ชัยวัธน์ อินทะพันธ์ นักการเมือง (เกิด พ.ศ. 2452)
พฤษภาคม
[แก้]- 7 พฤษภาคม – จริญญา พึ่งแสง นักการเมือง (เกิด พ.ศ. 2457)
- 15 พฤษภาคม – พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) พระราชาคณะ (เกิด พ.ศ. 2465)
มิถุนายน
[แก้]- 3 มิถุนายน – สง่า อารัมภีร ศิลปินแห่งชาติ (เกิด พ.ศ. 2464)
- 21 มิถุนายน – พันธ์ สายทอง อาชญากร (เกิด พ.ศ. 2508)
- 23 มิถุนายน
- กัณหา เคียงศิริ ศิลปินแห่งชาติ (เกิด พ.ศ. 2454)
- เห้ง โสภาพงศ์ ศิลปินแห่งชาติ (เกิด พ.ศ. 2455)
- อุสมาน อุเซ็ง นักการเมือง (เกิด พ.ศ. 2492)
กรกฎาคม
[แก้]- 7 กรกฎาคม – เดชา สุวรรณสุก อาชญากร (เกิด พ.ศ. 2492/2493)
- 28 กรกฎาคม – ป๋วย อึ๊งภากรณ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (เกิด พ.ศ. 2459)
สิงหาคม
[แก้]- 2 สิงหาคม – สุนทร คงสมพงษ์ อดีตหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (เกิด พ.ศ. 2474)
กันยายน
[แก้]- 6 กันยายน – ห้างทอง ธรรมวัฒนะ นักการเมือง (เกิด พ.ศ. 2492)
- 11 กันยายน
- พระครูธรรมกิจโกศล (นอง ธมฺมภูโต) พระสงฆ์ (เกิด พ.ศ. 2462)
- อมิตดา ธรรมารักษ์ อดีตหม่อมเจ้า (ประสูติ พ.ศ. 2465)
- 14 กันยายน – วินัย จุลละบุษปะ นักร้อง (เกิด พ.ศ. 2465)
- 19 กันยายน – หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (เกิด พ.ศ. 2452)
- 27 กันยายน – มณี สิริวรสาร นักสังคมสงเคราะห์ (เกิด พ.ศ. 2458)
ตุลาคม
[แก้]- 26 ตุลาคม – พระสุธรรมาธิบดี (เพิ่ม อาภาโค) พระราชาคณะ (เกิด พ.ศ. 2459)
พฤศจิกายน
[แก้]- 1 พฤศจิกายน – บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร (เกิด พ.ศ. 2455)
- 23 พฤศจิกายน – สมัย ปานอินทร์ อาชญากรและผู้จำหน่ายยาเสพติด (เกิด พ.ศ. 2483)
ไม่ทราบวัน
[แก้]- เจ้าโคมทอง ณ น่าน ผู้สืบสกุลเจ้าผู้ครองนครน่าน (ไม่ทราบปีประสูติ)