สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 – 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | สภาผู้แทนราษฎร | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | อาคารรัฐสภาไทย | ||||
วาระ | 13 กันยายน พ.ศ. 2535 – 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 (2 ปี 248 วัน) | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีชวน 1 | ||||
ฝ่ายค้าน | พรรคชาติไทย | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
สมาชิก | 360 | ||||
ประธาน | มารุต บุนนาค | ||||
รองประธานคนที่ 1 | วันมูหะมัดนอร์ มะทา ตั้งแต่ 22 กันยายน พ.ศ. 2535 เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย ตั้งแต่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 | ||||
รองประธานคนที่ 2 | ถวิล ไพรสณฑ์ ตั้งแต่ 22 กันยายน พ.ศ. 2535 จรัส พั้วช่วย ตั้งแต่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2537 | ||||
นายกรัฐมนตรี | ชวน หลีกภัย | ||||
ผู้นำฝ่ายค้าน | ประมาณ อดิเรกสาร ตั้งแต่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2535 บรรหาร ศิลปอาชา ตั้งแต่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 | ||||
พรรคครอง | รัฐบาลผสมพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคร่วมรัฐบาลอีก 4 พรรค |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ หลังจากอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้���ทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 และถือเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในรอบปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "การเลือกตั้ง 2535/2" นั่นเอง
การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งหนึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน มีจำนวน ส.ส. 360 คน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 สิ้นสุดสมาชิกภาพ เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภา เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรคและภาค
แก้พรรค | แบ่งเขต | รวม | ||||||
กรุงเทพ | กลาง | เหนือ | อีสาน | ใต้ | ตะวันออก | ตะวันตก | ||
ประชาธิปัตย์ | 9 | 8 | 4 | 17 | 36 | 3 | 2 | 79 |
ชาติไทย | - | 30 | 11 | 20 | - | 5 | 10 | 76 |
ชาติพัฒนา | - | 12 | 11 | 27 | - | 8 | 2 | 60 |
ความหวังใหม่ | - | 6 | 6 | 33 | 6 | 1 | 1 | 53 |
พลังธรรม | 22 | 7 | 3 | 9 | 3 | - | 2 | 46 |
กิจสังคม | 1 | 7 | 1 | 16 | - | - | - | 25 |
เสรีธรรม | - | 2 | - | 4 | - | 2 | - | 8 |
เอกภาพ | - | 2 | - | 2 | - | 4 | - | 8 |
ประชากรไทย | 3 | 1 | - | - | - | - | - | 4 |
ราษฎร | - | - | 1 | - | - | - | - | 1 |
รวม | 35 | 75 | 37 | 128 | 45 | 23 | 17 | 360 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แก้ ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
มีรายนามดังนี้
กรุงเทพ
แก้ภาคกลาง
แก้ภาคเหนือ
แก้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แก้ภาคใต้
แก้ภาคตะวันออก
แก้จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
จันทบุรี | 1 | สมชาย นิยมกิจ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
อำนาจ เพ่งจิตต์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||||
ประวัฒน์ อุตตะโมต | พรรคชาติพัฒนา | ||||
ฉะเชิงเทรา | 1 | อาทิตย์ อุไรรัตน์ | พรรคเสรีธรรม | ||
ร้อยตรีหญิงพนิดา เกษมมงคล | พรรคเสรีธรรม | ||||
2 | สุชาติ ตันเจริญ | พรรคชาติพัฒนา | |||
อิทธิ ศิริลัทธยากร | พรรคชาติพัฒนา | ||||
ชลบุรี | 1 | เสาวลักษณ์ สุริยาทิพย์ | พรรคเอกภาพ | ||
วิทยา คุณปลื้ม | พรรคชาติพัฒนา | ||||
คณิน บุญสุวรรณ | พรรคเอกภาพ | ||||
2 | อุทัย พิมพ์ใจชน | พรรคเอกภาพ | |||
สนธยา คุณปลื้ม | พรรคชาติพัฒนา | ||||
ธงชัย พิมพ์สกุล | พรรคเอกภาพ | ||||
ตราด | 1 | ธนิต ไตรวุฒิ | พรรคชาติพัฒนา | ||
ปราจีนบุรี | 1 | สมาน ภุมมะกาญจนะ | พรรคชาติพัฒนา | ||
สุนทร วิลาวัลย์ | พรรคชาติไทย | ||||
บุญส่ง สมใจ | พรรคชาติไทย | ||||
2 | เสนาะ เทียนทอง | พรรคชาติไทย | ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2536 เป็น ส.ส. ของจังหวัดสระแก้ว | ||
วิทยา เทียนทอง | พรรคชาติไทย | ||||
บุรินทร์ หิรัญบูรณะ | พรรคชาติไทย | ||||
ระยอง | 1 | จักรพันธุ์ ยมจินดา | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ | พรรคชาติพัฒนา | ||||
เสริมศักดิ์ การุญ | พรรคความหวังใหม่ |
ภาคตะวันตก
แก้ผู้ดำรงตำแหน่ง
แก้ประธานสภาผู้แทนราษฎร มารุต บุนนาค
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง วันมูหะมัดนอร์ มะทา (ลาออก พ.ศ. 2537) เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย ได้รับแต่งตั้งแทน
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง ถวิล ไพรสณฑ์ (ลาออก พ.ศ. 2537) จรัส พั้วช่วย ได้รับแต่งตั้งแทน
อ้างอิง
แก้- สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18เก็บถาวร 2013-03-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน