ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดชัยนาทในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชัยนาทในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน264,917
ผู้ใช้สิทธิ77.89%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ เพื่อไทย
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ พรรคใหม่ 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 92,609 42,736 22,916
% 49.50 22.84 12.25

  Fourth party
 
พรรค ภูมิใจไทย
เลือกตั้งล่าสุด 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2
คะแนนเสียง 4,455
% 2.38

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคพลังประชารัฐ

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ว่าที่นายกรัฐมนตรี

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดชัยนาท กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

[แก้]

แบ่งตามพรรค

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 2 92,609 49.50% 2 เพิ่มขึ้น2 100.00%
อนาคตใหม่ 2 42,736 22.84% 0 Steady 0.00%
เพื่อไทย 1 22,916 12.25% 0 Steady 0.00%
ภูมิใจไทย 2 4,455 2.38% 0 ลดลง2 0.00%
อื่น ๆ 45 24,350 13.02% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 52 187,066 100.00% 2 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต

[แก้]
เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 44,104 46.54% 15,144 15.98% 22,916 24.18% 12,610 13.30% 94,774 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 48,505 52.56% 27,592 29.90% 16,195 17.54% 92,292 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 92,609 49.50% 42,736 22.84% 22,916 12.25% 28,805 15.40% 187,066 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชัยนาท อำเภอสรรพยา อำเภอมโนรมย์และอำเภอวัดสิงห์ (ยกเว้นตำบลบ่อแร่และตำบลวังหมัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชัยนาท เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ อนุชา นาคาศัย (11)✔ 44,104 46.54
เพื่อไทย พรหมมิน สีตบุตร (9) 22,916 24.18
อนาคตใหม่ ณัฐพงศ์ นวลแสง (2) 15,144 15.98
ประชาธิปัตย์ ประชา ยอดวานิช (3) 5,143 5.43
เสรีรวมไทย สนั่น ทองปาน (6) 1,752 1.85
ภูมิใจไทย ภูวภัท เมธากีรติกร (4) 1,267 1.34
ประชาภิวัฒน์ วิชิต กลัดสุข (14) 647 0.68
ไทยศรีวิไลย์ สุชาติ อัมพานนท์ (7) 488 0.51
รวมพลังประชาชาติไทย สกณภัทร เรืองคุ้ม (8) 487 0.51
ประชาชาติ ปิยนุช ปาปี (1) 482 0.51
เพื่อชาติ สุภัทร์ประกร อ่ำสกุล (5) 466 0.49
ประชาชนปฏิรูป บุรินทร์ จิรวัฒน์จรรยา (15) 299 0.32
พลังท้องถิ่นไท อนนต์ สิงหะสุริยะ (12) 256 0.27
ชาติไทยพัฒนา สิบเอก ประสิทธิ์ แพ่งกลิ่น (17) 222 0.23
ประชานิยม กฤติเดช กิตติศาลโชติไพบูลย์ (13) 190 0.20
พลังปวงชนไทย ชลอ พวงทอ��� (16) 166 0.18
พลังชาติไทย วรารัตน์ ทองมาก (25) 150 0.16
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ลือชา แย้มขยัน (19) 148 0.16
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ทองเหมาะ สำราญบุญ (21) 109 0.12
พลังไทยดี สหาย นิลกำแหง (23) 105 0.11
ประชาไทย สมบัติ แก้วคง (27) 78 0.08
แผ่นดินธรรม วินัย วุ่นคง (24) 68 0.07
ภูมิพลังเกษตรกรไทย บุญเลิศ แก้วอินทร์ (26) 56 0.06
พลเมืองไทย ประสาน วงเวียน (20) 31 0.03
ไทยรักษาชาติ สมชาย สทธิบรวงษ์ (10)
เพื่อนไทย เรวัตร ฟักขาว (18)
เศรษฐกิจใหม่ ศุภกาญจน์ โจนส์ (22)
พลังประชาธิปไตย เพทาย ทัพมงคล (28)
ผลรวม 94,774 100.00
บัตรดี 94,774 91.85
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,743 1.69
บัตรเสีย 6,662 6.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,179 77.67
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,841 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 2

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอสรรคบุรี อำเภอหันคา อำเภอเนินขาม อำเภอหนองมะโมงและอำเภอวัดสิงห์ (เฉพาะตำบลบ่อแร่และตำบลวังหมัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชัยนาท เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ มณเฑียร สงฆ์ประชา (5)✔ 48,505 52.56
อนาคตใหม่ วิชาญ วงษ์พานิช (4) 27,592 29.90
ประชาธิปัตย์ สนธยา ภูษิต (3) 4,642 5.03
ภูมิใจไทย ธนบดี คุ้มชนะ (12) 3,188 3.45
เสรีรวมไทย พันตำรวจโท ประเสริฐ อินทร์ทับ (11) 2,771 3.00
พลังประชาธิปไตย มุกรวี บุญงาม (1) 776 0.84
เศรษฐกิจใหม่ จักรกริช ชะเอม (20) 663 0.72
พลังท้องถิ่นไท ธนพนธ์ แพ่งสภา (10) 590 0.64
ชาติพัฒนา ปัญญา สุขนิล (14) 574 0.62
พลังชาติไทย บุญชัย จารุพันธุ์ (24) 533 0.58
รวมพลังประชาชาติไทย ปณิตา อิทธิวรธาดา (9) 371 0.40
แผ่นดินธรรม ณวพงศ์ธร นิติภูวนนท์ (22) 319 0.35
ชาติไทยพัฒนา มานัฏฐ์ดลฌ์ เจริญภูวดล (15) 310 0.34
ประชาภิวัฒน์ สมชัย ชัยรัตนงามเดช (7) 277 0.30
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ดา ครคง (19) 273 0.30
ประชาชนปฏิรูป ไขแสง หอมรส (13) 193 0.21
ไทยศรีวิไลย์ อุกฤษฎ์ เกตุเอม (23) 192 0.21
ประชานิยม ไพบูลย์ เมตตาสุต (8) 189 0.20
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สุพจน์ บุญมี (17) 166 0.18
พลังไทยดี อนันต์ น้อยศักดิ์ (21) 132 0.14
พลเมืองไทย พิษณุ วงเวียน (18) 36 0.04
เพื่อชาติ จิระ เมธีวิวัฒน์ (2)
ไทยรักษาชาติ ชัยวัฒน์ ทรัพย์รวงทอง (6)†✔
เพื่อนไทย บำรุง จีนอ่ำ (16)
ผลรวม 92,292 100.00
บัตรดี 92,292 88.97
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,455 1.41
บัตรเสีย 9,413 9.62
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,160 78.11
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,076 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]