ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดยะลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดยะลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน364,174
ผู้ใช้สิทธิ80.41%
  First party Second party Third party
 
พรรค ประชาชาติ พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ 3
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1 ลดลง3
คะแนนเสียง 98,549 38,136 45,800
% 36.70 14.20 17.06

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

[แก้]

แบ่งตามพรรค

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาชาติ 3 98,549 36.70% 2 เพิ่มขึ้น2 66.67%
พลังประชารัฐ 3 38,136 14.20% 1 เพิ่มขึ้น1 33.33%
ประชาธิปัตย์ 3 45,800 17.06% 0 ลดลง3 0.00%
อื่น ๆ 96 86,037 32.04% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 105 268,522 100.00% 3 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาชาติ
  
36.70%
พลังประชารัฐ
  
14.20%
ประชาธิปัตย์
  
17.06%
อื่น ๆ
  
32.04%
ที่นั่ง
ประชาชาติ
  
66.67%
พลังประชารัฐ
  
33.33%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า

[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554

[แก้]
พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
ประชาชาติ 98,549 36.70% เพิ่มขึ้น36.70%
พลังประชารัฐ 38,136 14.20% เพิ่มขึ้น14.20%
ประชาธิปัตย์ 122,772 55.93% 45,800 17.06% ลดลง38.87%
เพื่อไทย 42,650 19.43% ลดลง19.43%
อื่น ๆ 54,075 24.64% 86,037 32.04% เพิ่มขึ้น7.40%
ผลรวม 219,497 100.00% 268,522 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554

[แก้]
พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
ประชาชาติ 98,549 36.70% เพิ่มขึ้น36.70%
พลังประชารัฐ 38,136 14.20% เพิ่มขึ้น14.20%
ประชาธิปัตย์ 102,008 49.59% 45,800 17.06% ลดลง32.53%
เพื่อไทย 62,037 30.16% ลดลง30.16%
อื่น ๆ 41,674 20.26% 86,037 32.04% เพิ่มขึ้น11.78%
ผลรวม 205,719 100.00% 268,522 100.00%

แบ่งตามเขต

[แก้]
เขตเลือกตั้ง ประชาชาติ พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 22,515 25.47% 23,745 26.86% 19,705 22.29% 22,425 25.38% 88,390 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 37,368 40.58% 1,850 2.01% 9,279 10.08% 43,586 47.33% 92,083 100.00% ประชาชาติ ได้ที่นั่ง
เขต 3 38,666 43.91% 12,541 14.24% 16,816 19.10% 20,026 22.75% 88,049 100.00% ประชาชาติ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 98,549 36.70% 38,136 14.20% 45,800 17.06% 86,037 32.04% 268,522 100.00%

เขตเลือกตั้ง

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลบุดี ตำบลเปาะเส้ง และตำบลบันนังสาเรง) และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลยะหา ตำบลตาชี และตำบลบาโงยซิแน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยะลา เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ อาดิลัน อาลีอิสเฮาะ (4) 23,745 26.86
ประชาชาติ สัญญา สุวรรณโพธิ์ (2) 22,515 25.47
ประชาธิปัตย์ ภูริพงศ์ พงษ์สุวรรณศิริ (8) 19,705 22.29
อนาคตใหม่ จิรายุ เบ็ญจวงศ์ (5) 13,229 14.97
รวมพลังประชาชาติไทย เชล ติ้งคำ (12) 2,996 3.39
เสรีรวมไทย ต่วนอิสเฮาะ โต๊ะนิแต (14) 1,659 1.88
ภูมิใจไทย นุรดิน อาสาบาโงย (6) 832 0.94
เศรษฐกิจใหม่ มะสือดี สะแลแม (22) 759 0.86
ชาติไทยพัฒนา มะดิง เย็ง (1) 387 0.44
สยามพัฒนา วารินทร์ สุคนธชาติ (13) 313 0.35
เพื่อธรรม บือราเฮง หะยีหะมะ (7) 277 0.31
พลังปวงชนไทย สุวรรณ ยิ่งเจริญสมสุข (24) 203 0.23
กรีน จุฑาภรณ์ เวชวัฒนาเศรษฐ (28) 178 0.20
พลังท้องถิ่นไท อดุล สะอิ (9) 176 0.20
เพื่อคนไทย มุกตาร์ จะปะกิยา (11) 156 0.18
ประชาภิวัฒน์ สุไรดา ยูโซะปลูกา (3) 155 0.18
ประชาชนปฏิรูป เดชศักดิ์ พิมเสนศรี (18) 150 0.17
ชาติพัฒนา ยูโซฟ หะยีอาซา (15) 148 0.17
เพื่อชาติ สุริยา มะหะจิ (16) 127 0.14
ประชาธิปไตยใหม่ ซาลือมา กาซอ (25) 84 0.10
พลังชาติไทย ไลลา สาและ (20) 68 0.08
แผ่นดินธรรม ปรียา ขุนปรง (35) 66 0.07
พลเมืองไทย สถิตย์ ชูเมือง (30) 59 0.07
พลังสหกรณ์ พิษณุ ก่อเกียรติยากุล (27) 57 0.06
คลองไทย อิสมาแอล ยามา (21) 55 0.06
พลังสังคม อุสมาน สะตือบา (29) 55 0.06
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย มายีด๊ะ ยะลาแน (17) 45 0.05
ครูไทยเพื่อประชาชน พาฮีส๊ะ ท้วมงาม (23) 40 0.05
พลังไทยรักไทย หัสดิน ยะผา (31) 39 0.04
พลังไทสร้างชาติ อีสอ สะแต (32) 36 0.04
ภราดรภาพ ซามีลา บือราเฮง (26) 21 0.02
มหาชน สามารถ ราแดง (34) 19 0.02
ทางเลือกใหม่ นิชุติมา บัวเดช (36) 19 0.02
ประชาธรรมไทย มารีเย๊าะ กะดะแซ (33) 17 0.02
ไทยรักษาชาติ ยูซุฟ อับดุรรอฮีม (10)
ถิ่นกาขาวชาววิไล สุรศักดิ์ ยูโซะ (19)
ไทรักธรรม เจตนิพิฐ สกุลทอง (37)
ผลรวม 88,390 100.00
บัตรดี 88,390 91.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,179 2.27
บัตรเสีย 5,602 5.83
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,171 79.49
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 120,988 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลบุดี ตำบลเปาะเส้ง และตำบลบันนังสาเรง) อำเภอรามัน อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลยะหา ตำบลตาชี และตำบลบาโงยซิแน) และอำเภอกาบัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยะลา เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชาติ ซูการ์โน มะทา (8)✔ 37,368 40.58
ภูมิใจไทย ริดวาน มะเต๊ะ (4) 26,638 28.93
ประชาธิปัตย์ อับดุลเล๊าะ บุวา (11) 9,279 10.08
รวมพลังประชาชาติไทย อับดุลการิม เด็งระกีนา (5)* 7,126 7.74
อนาคตใหม่ ไซด์นอน แวหามะ (2) 6,340 6.86
พลังประชารัฐ ฮัสซัน ดาตู (1) 1,850 2.01
เสรีรวมไทย นนทวัฒน์ โต๊ะหนู (3) 514 0.56
พลังท้องถิ่นไท ธรนินทร์ ยะมาแล (7) 477 0.52
ประชาชนปฏิรูป สันติ บุญยัง (28) 329 0.36
เพื่อคนไทย สะมาแอ มะดีเย๊าะ (9) 270 0.29
เพื่อชาติ ฮามีย๊ะ ลือแม (16) 202 0.22
คลองไทย ซูลกือระนัย หะระตี (10) 173 0.19
ชาติไทยพัฒนา แวหะมะ แวมะมิง (13) 163 0.18
ประชาภิวัฒน์ อนุชา เจ๊ะ (6) 144 0.16
เพื่อธรรม นิมะตอเฮ วิชา (14) 141 0.15
พลังสังคม อภินันท์ สะตือบา (25) 141 0.15
มหาชน การอหม๊ะ มะแซ (31) 109 0.12
พลังชาติไทย นิรัน ปานาวา (20) 86 0.09
ประชาธรรมไทย หะรง สะกะแย (29) 80 0.09
ไทรักธรรม อับดุลรอนิง โต๊ะโพ (34) 77 0.08
พลังไทยรักชาติ อับดุลเลาะมะ สาวา (18) 71 0.08
พลเมืองไทย อับดุลกอเดร์ มาซอรี (27) 69 0.08
ภูมิพลังเกษตรกรไทย ดุลรอแม ดอเลาะบาโด (33) 68 0.07
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สาฮาด๊ะ สาและ (17) 64 0.07
ประชาธิปไตยใหม่ ซำซูดิน หามะ (22) 60 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน ฟารีซัน ตาเยะ (21) 59 0.06
ถิ่นกาขาวชาววิไล มะสือดี อาลีโตะมะ (19) 42 0.05
ชาติพัฒนา อาแว สือเตาะ (15) 36 0.04
พลังปวงชนไทย กูแอน มาตานุกูล (23) 36 0.04
แผ่นดินธรรม จำรัส ทองแก้ว (32) 36 0.04
พลังไทสร้างชาติ เจ๊ะอุเซ็ง ตาเหย็บ (30) 35 0.04
ไทยรักษาชาติ กอเซ็ง จิงดารา (12)
เศรษฐกิจใหม่ อาฮามัด วาเตะ (24)
พลังประชาธิปไตย การียา ดอเลาะมิ (26)
ผลรวม 92,083 100.00
บัตรดี 92,083 91.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 731 0.72
บัตรเสีย 8,294 8.20
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,108 83.03
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,769 100.00
ประชาชาติ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 3

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอกรงปินัง อำเภอบันนังสตา อำเภอธารโตและอำเภอเบตง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยะลา เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชาติ อับดุลอายี สาแม็ง (9) 38,666 43.91
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ ดูดิง (12)* 16,816 19.10
พลังประชารัฐ หวังหะมะ บือนา (3) 12,541 14.24
อนาคตใหม่ ณรงค์ อาแว (17) 9,399 10.68
ชาติพัฒนา วรชัย ชัยพิชญากุล (13) 2,396 2.72
รวมพลังประชาชาติไทย ซอลาฮุดดีน ยาญา (4) 1,088 1.24
ภูมิใจไทย สอยูวัน อาลีมามะ (2) 917 1.04
เพื่อธรรม มะรูดิน กระโด (8) 808 0.92
เสรีรวมไทย ฮะหามะ กามะ (7) 738 0.84
พลังประชาธิปไตย ชัยยะ ธนกุลกานต์ (30) 701 0.80
เพื่อคนไทย มูหมัด จารง (1) 651 0.74
เศรษฐกิจใหม่ เมาลานา บาฮะคีรี (27) 515 0.59
ชาติไทยพัฒนา ชาญชัย บารูเลิศ (6) 430 0.49
แผ่นดินธรรม พงษ์พันธ์ จันทร์เล็ก (29) 393 0.45
เพื่อชาติ อมีนา หะยีสาเอะ (16) 227 0.26
คลองไทย ซูไฮมีย์ กามะ (11) 221 0.25
พลังท้องถิ่นไท สิบตำรวจโท เดชาวัต จารุนภัทร์ (20) 147 0.17
พลังปวงชนไทย อาแว มามะแตหะ (23) 146 0.17
พลังไทยรักไทย มาหามะ โต๊ะมะ (32) 136 0.16
พลังสังคม อนุรักษ์ ฟูมณีโชติ (28) 134 0.15
ประชาภิวัฒน์ อับดุลตอเล็บ มะแตหะ (5) 124 0.14
สยามพัฒนา สะตอพา วาแมดีซา (10) 121 0.14
ประชาธรรมไทย กูดิง ดอเลาะ (31) 120 0.14
กรีน เจริญ เวชวัฒนาเศรษฐ (26) 118 0.13
พลังชาติไทย กูฮะหมิ ดาจูดา (19) 104 0.12
ประชาธิปไตยใหม่ สาการียา ดอเลาะ (24) 93 0.11
ภราดรภาพ ต่วนอิสมาแอ สาและ (25) 79 0.09
ครูไทยเพื่อประชาชน รอซีม๊ะ แอเดียว (22) 66 0.08
ประชาชนปฏิรูป เสาวลักษณ์ สอนเวียง (18) 58 0.07
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย รอสนะ เจะเละ (15) 35 0.04
ไทรักธรรม ยามีหล๊ะ สามะ (34) 33 0.04
ภูมิพลังเกษตรกรไทย มะยากี หะยีสาและ (33) 28 0.03
ไทยรักษาชาติ แวหะมะ แวและ (14)
ถิ่นกาขาวชาววิไล ภาณุพงศ์ สิบู (21)
ผลรวม 88,049 100.00
บัตรดี 88,049 91.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,495 1.96
บัตรเสีย 6,001 6.28
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,545 78.69
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,417 100.00
ประชาชาติ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ผู้จัดการออนไลน์ (4 กุมภาพันธ์ 2562). "รับสมัคร ส.ส. วันแรก ที่ยะลา คึกคัก พรรคการเมืองส่งผู้สมัครครบ". ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]