ข้ามไปเนื้อหา

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อนึ่งคิดถึงพอสังเขป)
อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป
กำกับบัณฑิต ฤทธิ์ถกล
เขียนบทบัณฑิต ฤทธิ์ถกล
อำนวยการสร้างเจริญ เอี่ยมพึ่งพร
นักแสดงนำแอน ทองประสม
สายฟ้า เศรษฐบุตร
จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์
สายธาร นิยมการณ์
เอกชัย พงษ์ดี
แคทรียา อิงลิช
บอยสเก๊าท์
โมนา โมนิกา
ผู้บรรยายสันติสุข พรหมศิริ
กำกับภาพวันชัย เล่งอิ้ว
ตัดต่อพูนศักดิ์ อุทัยพันธุ์
ดนตรีประกอบจรัล มโนเพ็ชร
ดำรง ธรรมพิทักษ์
ผู้จัดจำหน่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น
วันฉาย11 เมษายน พ.ศ. 2535
ประเทศไทย ประเทศไทย
ภาษาไทย ไทย
ต่อจากนี้อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2
ข้อมูลจากฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทย

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป (อังกฤษ: I Miss You) เป็น]ภาพยนตร์ไทยแนวก้าวผ่านวัย ปี 2535 กำกับโดยบัณฑิต ฤทธิ์ถกล และจัดจำหน่ายโดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น เรื่องราวกล่าวถึงกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเชียงใหม่ และสร้างชื่อเสียงให้กับนักแสดงหลายคน เช่นแอน ทองประสม, แคทรียา อิงลิช, สายธาร นิยมการณ์, สมาชิกวงบอยแบนด์บอยสเก๊าท์ และจักรกฤษณ์ อำมะรัตน์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จในด้านรายได้ และยังช่วยกระตุ้นให้มีภาพยนตร์วัยรุ่นไทยเกิดขึ้นตามมาอีกมากมายในช่วงทศวรรษ 1990[1]

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขปได้รับรางวัลหลายรางวัล รวมถึงภาพยนตร์ยอดเยี่ยมจากงานรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2 และงานรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 3[2][3] ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภาพยนตร์ของชาติโดยหอภาพยนตร์แห่งชาติเป็นครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2561[4][5]

รางวัล

[แก้]
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2535[6]
  • ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
  • ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม - บัณฑิต ฤทธิถกล
  • ถ่ายภาพยอดเยี่ยม - วันชัย เล่งอิ้ว
  • ลำดับภาพยอดเยี่ยม - พูนศักดิ์ อุทัยพันธุ์
  • เพลงนำภาพย��ตร์ยอดเยี่ยม - จรัล มโนเพ็ชร, ดำรง ธรรมพิทักษ์
  • กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม - เจดีย์ ศุภกาญจน์, ประดิษฐ์ นิลสนธิ
  • แต่งหน้ายอดเยี่ยม - สถาบัน เอ็มทีไอ
รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2535[7]
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535[8]
  • ลำดับภาพและตัดต่อยอดเยี่ยม - พูนศักดิ์ อุทัยพันธุ์

อ้างอิง

[แก้]
  • นิตยสาร A day ฉบับ 83 "RS The Next Superteens"
  1. "อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป" [Anueng Khitthueng Pho Sangkhep]. fapot.or.th. Film Archive (Public Organization). สืบค้นเมื่อ 20 October 2024.
  2. Lopattananont, Thanayod (2016-03-01). "Film or Flick?: Bundit Rittakol's Youth Films as a Reflection of Resistance to Socio-Cultural Transition in Thailand". Manusya Journal of Humanities. 19 (1): 83–106.
  3. "รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง 2535" [Bangkok Critics Assembly Award 1992]. Thai Film Foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2010-08-03.
  4. "รายชื่อภาพยนตร์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภาพยนตร์ของชาติ ครั้งที่ 8 ปี 2561" [List of films registered as national heritage films, 8th listing, 2018]. Thai Film Archive. Film Archive (Public Organization). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 March 2019. สืบค้นเมื่อ 23 March 2019.
  5. "ขึ้นทะเบียน 20 เรื่อง มรดกภาพยนตร์ชาติ 'พระเจ้าช้างเผือก' มรดกทรงจำโลก". ไทยรัฐ. 4 ตุลาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2024.
  6. ผลการตัดสินรางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 2[ลิงก์เสีย]
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2010-08-03.
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-27. สืบค้นเมื่อ 2013-10-10.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]