ลี-เอ็นฟิลด์
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
ลี-เอ็นฟิลด์ | |
---|---|
Short Magazine Lee–Enfield Mk I (1903), Swedish Army Museum, Stockholm. | |
ชนิด | ไรเฟิลแบบลูกเลื่อน |
แหล่งกำเนิด | บริเตนใหญ่ |
บทบาท | |
ประจำการ | MLE: 1895–1926 SMLE: 1904–ปัจจุบัน |
ผู้ใช้งาน | See Users |
สงคราม | สงครามบัวร์ครั้งที่ 2 สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง Easter Rising Various Colonial conflicts สงครามประกาศอิสรภาพไอร์แลนด์ สงครามกลางเมืองไอร์แลนด์ สงครามโลกครั้งที่สอง การปฏิวัติแห่งชาติอินโดนีเซีย สงครามอินเดีย-ปากีสถาน สงครามกลางเมืองกรีก วิกฤตการณ์มาลายา สงครามอินโดจีนฝรั่งเศส สงครามเกาหลี สงครามอาหรับ-อิสราเอล วิกฤตการณ์สุเอซ Border Campaign (Irish Republican Army) การก่อการกำเริบชนเผ่าเมา เมา สงครามเวียดนาม The Troubles สงครามจีน-อินเดีย สงครามปลดปล่อยบังกลาเทศ โซเวียตบุกครองอัฟกานิสถาน สงครามกลางเมืองเนปาล ความขัดแย้งในอัฟกานิสถาน |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | James Paris Lee, RSAF Enfield |
ช่วงการผลิต | MLE: 1895–1904 SMLE: 1904–present |
จำนวนที่ผลิต | 17,000,000+[1] |
แบบอื่น | See Models/marks |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 4.19 kg (9.24 lb) (Mk I) 3.96 kg (8.73 lb) (Mk III) 4.11 kg (9.06 lb) (No. 4) |
ความยาว | MLE: 49.6 in (1,260 mm) SMLE No. 1 Mk III: 44.57 in (1,132 mm) SMLE No. 4 Mk I: 44.45 in (1,129 mm) LEC: 40.6 in (1,030 mm) SMLE No. 5 Mk I: 39.5 in (1,003 mm) |
ความยาวลำกล้อง | MLE: 30.2 in (767 mm) SMLE No. 1 Mk III: 25.2 in (640 mm) SMLE No. 4 Mk I: 25.2 in (640 mm) LEC: 21.2 in (540 mm) SMLE No. 5 Mk I: 18.8 in (480 mm) |
กระสุน | .303 Mk VII SAA Ball |
การทำงาน | Bolt-action |
อัตราการยิง | 20–30 aimed shots per minute |
ความเร็วปากกระบอก | 744 m/s (2,441 ft/s) |
ระยะหวังผล | 550 yd (503 m)[2] |
พิสัยไกลสุด | 3,000 yd (2,743 m)[2] |
ระบบป้อนกระสุน | 10-round magazine, loaded with 5-round charger clips |
ศูนย์เล็ง | Sliding ramp rear sights, fixed-post front sights, "dial" long-range volley; telescopic sights on sniper models. Fixed and adjustable aperture sights incorporated onto later variants. |
ลี-เอ็นฟิลด์เป็นปืนไรเฟิลแบบลูกเลื่อน,แบบซองกระสุนและยิงซ้ำได้อย่างรวดเร็ว(repeating rifle) มันเป็นอาวุธปืนหลักที่ถูกใช้งานโดยกองทัพจักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 มันเป็นปืนไรเฟิลมาตรฐานของกองทัพบริติชจากการใช้อย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1895 ถึง 1957.มันได้ถูกเรียกว่า SMLE,ซึ่งย่อคำมาจาก "Short Magazine Lee-Enfield".
มันได้รับการออกแบบมาจาก ลี-เม็ทฟอร์ด(Lee–Metford ซึ่งถูกใช้งานโดยกองทัพบริติชในปี ค.ศ. 1888),ลี-เอ็นฟิลด์ได้เข้ามาแทนที่ปืนไรเฟิลรุ่นก่อนอย่าง มาร์ตินี่-เฮนรี่(Martini–Henry), มาร์ตินี่-เอ็นฟิลด์(Martini–Enfield)และลี-เม็ทฟอร์ด.มันเป็นแบบกล่องตลับกระสุนแบบสิบนัดซึ่งบรรจุด้วยตลับกระสุนบริติซ.303ด้วยมือจากด้านบน,แต่ละรอบหนึ่งในเวลาหรือวิธีจากชาร์จแบบห้านัด.ลี-เอ็นฟิลด์เป็นอาวุธรุ่นมาตรฐานจากบริษัทผลิตไรเฟิลให้กับกองทัพบริติซและประเทศเครือจักรภพอื่นๆทั้งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง.(กลุ่มประเทศเครือจักรภพเหล่านี้ได้แก่ ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, แคนนาดา อินเดีย และแอฟริกาใต้และอื่นๆ).แม้ว่าจะถูกแทนที่อย่างเป็นทางการในสหราชอาณาจักรด้วยปืนไรเฟิล L1A1 SLR ในปี ค.ศ. 1957.มันยังคงถูกใช้งานในอังกฤษตั้งแต่ต้น/กลาง-ปี 1960 และกระสุนขนาด 7.62 มิลเมตรของไรเฟิลซุ่มยิงแบบ 42 (L42)ยังคงถูกใช้งานจนถึงปี ค.ศ. 1990.ในฐานะที่เป็นปืนไรเฟิลทหารราบรุ่นมาตรฐาน,ยังคงพบในการใช้งานในกองทัพของบางประเทศในเครือจักรภพ,ที่น่าสนใจจากตำรวจจากบังกลาเทศ,ซึ่งได้ถูกใช้งานเป็นปืนไรเฟิลแบบลูกเลือนทางทหารที่ยาวนานที่สุดครั้งที่สองในการใช้งานอย่างเป็นทางการ ต่อมาภายหลังเป็นโมซิน-นากองท์.หน่วยสำรองเรนเจอร์แคนนาดายังคงใช้ปืนไรเฟิลเอ็นฟิลด์,ด้วยแผนที่จะมีการเปลี่ยนอาวุธใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 2017-2018 ด้วยปืนใหม่จากบริษัทผลิตอาวุธของซาโก้(SAKO)รุ่น โคลท์ ซี-19.การผลิตของลี-เอ็นฟิลด์ทั้งหมดอยู่ที่ประมาณกว่า 17 ล้านกระบอกไรเฟิล.
ลี-เอ็นฟิลด์ได้ใช้ชื่อจากผู้ออกแบบระบบไรเฟิลแบบลูกเลื่อน-เจมส์ ปารีส ลีและโรงงานซึ่งได้รับการออกแบบให้เป็นโรงงานหลวงผลิตอาวุธขนาดเล็ก(Royal Small Arms Factory)ในเมืองเอ็นฟิลด์,ในออสเตรเลีย, แคนนาดา, นิวซีแลนด์, แอฟริกาใต้ และอินเดีย ปืนไรเฟิลได้กลายเป็นที่รู้จักกันในตัวอย่างจาก""สาม-โอ-สาม"หรือ"สาม-ศูนย์-สาม".
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Skennerton 1993, p. 153, 230.
- ↑ 2.0 2.1 "Rifle, Short Magazine Lee Enfield". The Lee–Enfield Rifle Website. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 กันยายน 2010. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2010.