ปฏิญญากรุงเทพฯ
หน้าตา
การลงนามปฏิญญากรุงเทพฯ ในกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรีต่างประเทศจากประเทศก่อตั้ง 5 ท่าน ถือเป็นการสถาปนาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) | |
ประเภท | สนธิสัญญาพหุภาคี |
---|---|
วันลงนาม | 8 สิงหาคม 2510 |
ที่ลงนาม | กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย |
ผู้ลงนามแรกเริ่ม | |
ผู้ลงนาม |
|
ปฏิญญาอาเซียน (อังกฤษ: ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพฯ (อังกฤษ: Bangkok Declaration) เป็นเอกสารในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้รับการลงนาม ณ กรุงเทพมหานคร ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยในขณะนั้นมีสมาชิกผู้ก่อตั้งจำนวน 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะสกัดการแพร่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเวียดนาม โดยกำหนดหลักการเบื้องต้นของอาเซียน อย่างเช่น การร่วมมือกัน มิตรภาพและการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวต่อสถานการณ์ภายในประเทศสมาชิกทั้งหมด[1] วันดังกล่าวมีการจัดการเฉลิมฉลองเป็น วันอาเซียน[2]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Bernard Eccleston, Michael Dawson, Deborah J. McNamara (1998). The Asia-Pacific Profile. Routledge (UK). ISBN 0415172799.
{{cite book}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ [1]