โยชูวา 12
โยชูวา 12 | |
---|---|
หน้าของหนังสือโยชูวาในฉบับเลนินกราด (ค.ศ. 1008) | |
หนังสือ | หนังสือโยชูวา |
ภาคในคัมภีร์ฮีบรู | เนวีอีม |
ลำดับในภาคของคัมภีร์ฮีบรู | 1 |
หมวดหมู่ | ผู้เผยพระวจนะยุคต้น |
ภาคในคัมภีร์ไบเบิลคริสต์ | พันธสัญญาเดิม |
ลำดับในภาคของคัมภีร์ไบเบิลคริสต์ | 6 |
โยชูวา 12 (อังกฤษ: Joshua 11) เป็นบทที่ 12 ของหนังสือโยชูวาในคัมภีร์ฮีบรูหรือในพันธสัญญาเดิมของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์[1] ตามธรรมเนียมในศาสนายูดาห์เชื่อว่าหนังสือเขียนขึ้นโดยโยชูวาร่วมด้วยมหาปุโรหิตเอเลอาซาร์และฟีเนหัส[2][3] แต่นักวิชาการยุคปัจจุบันมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์เฉลยธรรมบัญญัติซึ่งครอบคลุมเรื่องราวตั้งแต่หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติถึงหนังสือพงศ์กษัตริย์ฉบับที่ 2 เขียนโดยผู้เขียนศาสนายาห์เวห์ผู้รักชาติและศรัทธาในสมัยของโยสิยาห์กษัตริย์ยูดาห์นักปฏิรูปในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล[3][4] บทที่ 12 ของหนังสือโยชูวาบันทึกรายพระนามกษัตริย์ที่ทรงพ่ายแพ้ต่อชาวอิสราเอลภายใต้การนำโดยโมเสสและโยชูวา[5] เป็นส่วนหนึ่งของตอนที่ประกอบด้วยโยชูวา 5:13–12:24 เกี่ยวกับการพิชิตคานาอัน[6]
ต้นฉบับ
[แก้]บทนี้เดิมเขียนด้วยภาษาฮีบรู แบ่งออกเป็น 24 วรรค
พยานต้นฉบับ
[แก้]บางสำเนาต้นฉบับในยุคต้นที่มีข้อความของบทนี้เป็นภาษาฮีบรูมีลักษณะเป็นต้นฉบับเมโซเรติก (Masoretic Text) ได้แก่ ฉบับไคโร (Codex Cairensis; ค.ศ. 895), ฉบับอะเลปโป (Aleppo Codex; ศตวรรษที่ 10) และ ฉบับเลนินกราด (Leningrad Codex; ค.ศ. 1008)[7]
ต้นฉบับโบราณที่หลงเหลืออยู่ของคำแปลเป็นภาษากรีกคอยนีที่รู้จักในชื่อเซปทัวจินต์ (ทำขึ้นในช่วงไม่กี่ศตวรรษสุดท้ายก่อนคริสตกาล) ได้แก่ ฉบับวาติกัน (Codex Vaticanus; B; B; ศตวรรษที่ 4) และฉบับอะเล็กซานเดรีย (Codex Alexandrinus; A; A; ศตวรรษที่ 5) (A; A; ศตวรรษที่ 5)[8][a]
วิเคราะห์
[แก้]เรื่องเล่าที่ชาวอิสราเอลยึดครองดินแดนคานาอันประกอบด้วยยวรรค 5:13 ถึง 12:24 ของหนังสือโยชูวา และมีโครงเรื่องดังต่อไปนี้:[10]
- A. เยรีโค (5:13–6:27)
- B. อาคานและอัย (7:1–8:29)
- C. การรื้อฟื้นพันธสัญญาที่ภูเขาเอบาล (8:30–35)
- D. กลอุบายของชาวกิเบโอน (9:1–27)
- E. การทัพฝ่ายใต้ (10:1–43)
- F. การทัพฝ่ายเหนือและสรุปรายพระนามกษัตริย์ (11:1–12:24)
- 1. ชัยชนะเหนือพันธมิตรฝ่ายเหนือ (11:1-15)
- a. พันธมิตรฝ่ายเหนือ (11:1-5)
- b. คำมั่นของพระเจ้า (11:6)
- c. ชัยชนะที่เมโรม (11:7-9)
- d. การทำลายเมืองฮาโซร์ (11:10–11)
- e. ผลของการเชื่อฟังและชัยชนะ (11:12–15)
- 2. สรุปแผ่นดินที่ยึดครองมาได้ (11:16-12:24)
- a. แผ่นดินที่ยึดครองมาได้ (11:16-20)
- b. การทำลายคนอานาค (11:21-22)
- c. สาระสำคัญของเรื่องเล่า: การย��ดครองและการจัดแบ่ง (11:23)
- d. แผ่นดินที่ยึดมาได้และเหล่ากษัตริย์ (12:1-24)
- i. ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำจอร์แดน (12:1-6)
- ii. ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน (12:7-24)
- 1. ชัยชนะเหนือพันธมิตรฝ่ายเหนือ (11:1-15)
บทที่ 12 เป็นการจบเรื่องราวการพิชิตแผ่นดินโดยชาวอิสราเอลทั้งฟากตะวันออก (วรรค 1-6) และฟากตะวันตก (วรรค 7-24) ของแม่น้ำจอร์แดน ในฐานะ 'แผ่นดินแห่งพระสัญญา' ซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินที่จัดสรรคให้ชนเผ่าทั้งหมดของอิสราเอล[11]
บรรดากษัตริย์ที่ทรงพ่ายแพ้ทางฟากตะวันออกของแม่น้ำจอร์แดน (12:1–6)
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
บรรดากษัตริย์ที่ทรงพ่ายแพ้ทางฟากตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน (12:7–24)
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]- กิลกาล
- กิเลอาด
- เกชูร์
- เกเซอร์
- เกเดอร์
- คารเมล
- คินเนเรท
- เคเดช
- ชาวคานาอัน
- ชาวเปริสซี
- ชาวมาอาคาห์
- ชาวเยบุส
- ชาวอิสราเอล
- ชาวอาโมไรต์
- ชาวฮิตไทต์
- ชาวฮีไวต์
- ชิมโรนเมโรน
- ไซดอน
- เดบีร์ (เมือง)
- โดร์
- ทาอานาค
- ทีรซาห์
- ที่ลาดปิสกาห์
- เนเกบ
- บาชาน
- บาอัลกาด
- เบธเยชิโมท
- เบธเอล
- เบธโฮโรน
- เผ่ากาด
- เผ่ามนัสเสห์
- เผ่ารูเบน
- ภูเขาเสอีร์
- ภูเขาเฮอร์โมน
- มักเคดาห์
- มาโดน
- มิสปาห์
- มิสเรโฟทมาอิม
- เมกิดโด
- เมโรน
- แม่น้ำจอร์แดน
- แม่น้ำยับบอก
- โมเสส
- ยารมูท
- เยรีโค
- เยรูซาเล็ม
- โยกเนอัม
- ลาคีช
- ลาชาโรน
- ลิบนาห์
- เลบานอน
- วงศ์วานอิสราเอล
- สาเลคาห์
- อดุลลัม
- อัคชาฟ
- อัชทาโรท
- อัมโมน
- อัย
- อาเฟก
- อาราด
- เอกโลน
- อาโรเออร์
- เอเดรอี
- ฮาโซร์
- เฮชโบน
- เฮโบรน
- เฮเฟอร์
- โฮรมาห์
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Halley 1965, pp. 163–164.
- ↑ Talmud, Baba Bathra 14b-15a)
- ↑ 3.0 3.1 Gilad, Elon. Who Really Wrote the Biblical Books of Kings and the Prophets?, Haaretz, June 25, 2015. Summary: The paean to King Josiah and exalted descriptions of the ancient Israelite empires beg the thought that he and his scribes lie behind the Deuteronomistic History.
- ↑ Coogan 2007, p. 314 Hebrew Bible.
- ↑ Coogan 2007, pp. 333–334 Hebrew Bible.
- ↑ McConville 2007, p. 158.
- ↑ Würthwein 1995, pp. 35–37.
- ↑ Würthwein 1995, pp. 73–74.
- ↑ This article incorporates text from a publication now in the public domain: Herbermann, Charles, ed. (1913). "Codex Sinaiticus". Catholic Encyclopedia. New York: Robert Appleton Company.
- ↑ Firth 2021, pp. 27–29.
- ↑ McConville 2007, p. 168.
บรรณานุกรม
[แก้]- Beal, Lissa M. Wray (2019). Longman, Tremper, III; McKnight, Scot (บ.ก.). Joshua. The Story of God Bible Commentary. Zondervan Academic. ISBN 978-0310490838.
- Coogan, Michael David (2007). Coogan, Michael David; Brettler, Marc Zvi; Newsom, Carol Ann; Perkins, Pheme (บ.ก.). The New Oxford Annotated Bible with the Apocryphal/Deuterocanonical Books: New Revised Standard Version, Issue 48 (Augmented 3rd ed.). Oxford University Press. ISBN 978-0195288810.
- Firth, David G. (2021). Joshua: Evangelical Biblical Theology Commentary. Evangelical Biblical Theology Commentary (EBTC) (illustrated ed.). Lexham Press. ISBN 9781683594406.
- Halley, Henry H. (1965). Halley's Bible Handbook: an abbreviated Bible commentary (24th (revised) ed.). Zondervan Publishing House. ISBN 0-310-25720-4.
- Harstad, Adolph L. (2004). Joshua. Concordia Publishing House. ISBN 978-0570063193.
- Hayes, Christine (2015). Introduction to the Bible. Yale University Press. ISBN 978-0300188271.
- Hubbard, Robert L (2009). Joshua. The NIV Application Commentary. Zondervan. ISBN 978-0310209348.
- McConville, Gordon (2007). "9. Joshua". ใน Barton, John; Muddiman, John (บ.ก.). The Oxford Bible Commentary (first (paperback) ed.). Oxford University Press. pp. 158–176. ISBN 978-0199277186. สืบค้นเมื่อ February 6, 2019.
- Rösel, Hartmut N. (2011). Joshua. Historical commentary on the Old Testament. Vol. 6 (illustrated ed.). Peeters. ISBN 978-9042925922.
- Würthwein, Ernst (1995). The Text of the Old Testament. แปลโดย Rhodes, Erroll F. Grand Rapids, MI: Wm. B. Eerdmans. ISBN 0-8028-0788-7. สืบค้นเมื่อ January 26, 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คำแปลในศาสนายูดาห์:
- Yehoshua - Joshua - Chapter 12 (Judaica Press). Hebrew text and English translation [with Rashi's commentary] at Chabad.org
- คำแปลในศาสนาคริสต์:
- Online Bible at GospelHall.org (ESV, KJV, Darby, American Standard Version, Bible in Basic English)
- Joshua chapter 12. Bible Gateway
- โยชูวา 12. YouVersion