ข้ามไปเนื้อหา

อักษรสิเลฏินาครี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรสิเลฏินาครี
ꠍꠤꠟꠐꠤ ꠘꠣꠉꠞꠤ
สิเลฏินาครี ในอักษรสิเลฏินาครี
ชนิด
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภูมิภาคGreater Sylhet
Barak Valley
Greater Mymensingh
Greater Noakhali
ภาษาพูดภาษาเบงกอลกลาง, ภาษาสิเลฏิ, Noakhailla
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ISO 15924
ISO 15924Sylo (316), ​Syloti Nagri
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Syloti Nagri
ช่วงยูนิโคด
U+A800-U+A82F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรสิเลฏินาครี ใกล้เคียงกับอักษรไกถีของรัฐพิหาร จุดกำเนิดยังไม่แน่ชัด เริ่มพบครั้งแรกเมื่อราว พ.ศ. 2092 – 2317 เชื่อกันว่าสร้างขึ้นโดยนักบุญ ชาจาลันและคณะที่พูดภาษาอาหรับ เพื่อใช้เขียนภาษาสิเลฏี เมื่อประมาณ พ.ศ. 2200 ภาษาเปอร์เซียกลายเป็นภาษาราชการในรัฐที่ปกครองด้วยสุลต่าน และมีการนำอักษรอาหรับดัดแปลงมาใช้ อักษรนี้จึงใช้ในชีวิตประจำวันเท่านั้น

พ.ศ. 2403 ชาวสิลเหติชื่อ มวลวี อับดุลการิม ผู้เรียนทางด้านธุรกิจการพิมพ์ในยุโรปหลายปี ได้คิดค้นแม่พิมพ์ไม้เพื่อพิมพ์ภาษาสิเลฏีด้วยอักษรนี้ เขาจัดตั้งสำนักพิมพ์อิสลามขึ้น การพิมพ์เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2413 สิ้นสุดเมื่อ พ.ศ. 2513 อักษรนี้เขียนจากซ้ายไปขวาแต่หนังสือที่พิมพ์ด้วยอักษรนี้จะเรียงหน้าจากขวาไปซ้าย ทำให้ปกแรกของหนังสือในภาษานี้ตรงกับปกหลังของหนังสืออื่น

ใช้เขียน

[แก้]

ยูนิโคด

[แก้]
สิเลฏินาครี
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+A80x
U+A81x
U+A82x        


อ้างอิง

[แก้]