อักษรสันถาลี
หน้าตา
อักษรอ็อลจิกิ ᱚᱞ ᱪᱤᱠᱤ | |
---|---|
ชนิด | Alphabet
|
ผู้ประดิษฐ์ | Raghunath Murmu |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษาสันถาลี |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Olck (261), Ol Chiki (Ol Cemet’, Ol, Santali) |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Ol Chiki |
ช่วงยูนิโคด | U+1C50–U+1C7F |
อักษรสันถาลี (Santali) หรือ อักษรอ็อลจิกิ (ᱚᱞ ᱪᱤᱠᱤ; Ol Chiki) หรือ อักษรอ็อลเจะเม็ท (ᱚᱞ ᱪᱮᱢᱮᱫ; Ol Chemetʼ) หรือเพียงแค่ อักษรอ็อล (ᱚᱞ; Ol) ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2463 โดย บัณฑิต รฆุนาถ มุร์มู ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมวัฒนธรรมสันถาลี เพื่อให้ภาษาสันถาลีมีอักษรเป็นของตนเองเช่นเดียวกับภาษาสำคัญอื่น ๆ ในอินเดีย ก่อนหน้านี้ภาษาสันถาลีเขียนด้วยอักษรเบงกอล อักษรโอริยา อักษรเทวนาครี หรืออักษรละติน อักษรนี้ได้รับการออกแบบเพื่อใช้กับภาษาสันถาลีที่ใช้พูดทางภาคใต้ของรัฐโอริศา
ใช้เขียน
[แก้]- ภาษาสันถาลี ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษามุนดา มีผู้พูดราว 6.2 ล้านคน (พ.ศ. 2540) ในอินเดีย บังกลาเทศ เนปาล และภูฏาน
อ้างอิง
[แก้]- (อังกฤษ) อักษรสันถาลี