ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ 2016
FIFA Club World Cup Japan 2016
FIFAクラブワールドカップ ジャパン2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพญี่ปุ่น
วันที่8–18 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ทีม7 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่2 (ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศสเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
อันดับที่ 3โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล
อันดับที่ 4เม็กซิโก อาเมริกา
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน8
จำนวนประตู28 (3.5 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม238,428 (29,804 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด (4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด[1]
รางวัลแฟร์เพลย์ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส[1]
2015
2017

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2016 (อังกฤษ: 2016 FIFA Club World Cup) หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพเจแปน 2016 พรีเซนเท็ดบายอาลีบาบาอีออโต ตามชื่อของผู้สนับสนุน[2] เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ครั้งที่ 13 จัดขึ้นโดยฟีฟ่า ซึ่งจะมีทีมที่เป็นแชมป์ของการแข่งขันฟุตบอลถ้วยของทวีปทั้ง 6 ทวีปมาแข่งขัน โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่น[3]

ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ได้มีการยืนยันว่าในการแข่งขันนี้จะสามารถใช้การเปลี่ยนผู้เล่นสำรองได้ในช่วงการต่อเวลาพิเศษเป็นครั้งแรกของการแข่งขันฟุตบอล[4]

การคัดเลือกเจ้าภาพ

[แก้]

การคัดเลือกที่มีขึ้นสำหรับปี 2015–2016 รวมถึง 2017–2018 เช่นการใช้ 2 ประเทศเจ้าภาพ ประเทศละ 2 ปี โดยเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[5] สมาชิกของฟีฟ่าที่สนใจจะเป็นเจ้าภาพสามารถยื่นข้อเสนอได้ตั้งแต่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2557 และส่งเอกสารในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2557[6] โดยคณะกรรมการของฟีฟ่าจะคัดเลือกเจ้าภาพในการประชุมที่ประเทศโมร็อกโก ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557[7] อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการตัดสินใจสำหรับเจ้าภาพในปี 2015–16 จนถึงช่วงปี พ.ศ. 2558

โดยรายชื่อด้านล่างนี้คือประเทศที่สนใจในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันรายการนี้:[8]

ทำให้ประเทศญี่ปุ่นได้รับการยืนยันให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015 และ 2016 ในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2558[3]

สโมสรที่เข้าแข่งขัน

[แก้]

หมายเหตุ: ข้อมูลด้านล่างนี้อ้างอิงจากการจัดการแข่งขันของฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ซึ่งจัดโดยฟีฟ่า

สโมสร สมาพันธ์ฟุตบอล คุณสมบัติ วันที่เข้ารอบ การเข้าร่วม
เข้ารอบรองชนะเลิศ
โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล คอนเมบอล สโมสรชนะเลิศ โคปาลิเบอร์ตาดอเรส 2016 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 1
สเปน เรอัลมาดริด ยูฟ่า สโมสรชนะเลิศ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2015–16 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 3 (ครั้งทีผ่านมา: 2000, 2014)
เข้ารอบก่อนรองชนะเลิศ
เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ เอเอฟซี สโมสรชนะเลิศ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 2 (ครั้งที่ผ่านมา: 2006)
แอฟริกาใต้ มาเมโลดี ซันดาวน์ส ซีเอเอฟ สโมสรชนะเลิศ ซีเอเอฟแชมเปียนส์ลีก 2016 23 ตุลาคม พ.ศ. 2559 1
เม็กซิโก อาเมริกา คอนคาแคฟ สโมสรชนะเลิศ คอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีก 2015–16 27 เมษายน พ.ศ. 2559 3 (ครั้งทีผ่านมา: 2006, 2015)
เข้ารอบเพลย์ออฟ
นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี โอเอฟซี สโมสรชนะเลิศ โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 23 เมษายน พ.ศ. 2559 8 (ครั้งที่ผ่านมา: 2006, 2009, 2011, 2012, 2013, 2014, 2015)
ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส เอเอฟซี (เจ้าภาพ) สโมสรชนะเลิศ เจวันลีก 2016 3 ธันวาคม พ.ศ. 2559 1

สนามแข่งขัน

[แก้]

เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 2016, สนามฟุตบอลซุอิตะซิตี ใน โอะซะกะ และ สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ ใน โยะโกะฮะมะ คือได้รับการเสนอชื่อเป็นหนึ่งในสองสนามแข่งขันของทัวร์นาเมนต์.[10]

โอะซะกะ โยะโกะฮะมะ
สนามฟุตบอลซุอิตะซิตี สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ
34°48′41.04″N 135°32′27.24″E / 34.8114000°N 135.5409000°E / 34.8114000; 135.5409000 (สนามฟุตบอลซุอิตะซิตี) 35°30′35″N 139°36′20″E / 35.50972°N 139.60556°E / 35.50972; 139.60556 (สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ)
ความจุ: 39,694 ความจุ: 72,327

ผู้ตัดสิน

[แก้]

ผู้ตัดสินที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ:[11][12]

สมาพันธ์ ผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการใช้วิดีโอ
เอเอฟซี บาห์เรน Nawaf Shukralla บาห์เรน Yaser Khalil Abdulla Tulefat
บาห์เรน Ebrahim Mubarak Saleh
อุซเบกิสถาน Ravshan Irmatov
ซีเอเอฟ แซมเบีย Janny Sikazwe แองโกลา Jerson Emiliano dos Santos
เอริเทรีย Berhe Tesfagiorghis
ประเทศแกมเบีย Bakary Gassama
คอนคาแคฟ เม็กซิโก Roberto García เม็กซิโก José Luis Camargo
เม็กซิโก Alberto Morín
สหรัฐอเมริกา Mark Geiger
คอนเมบอล ปารากวัย Enrique Cáceres ปารากวัย Eduardo Cardozo
ปารากวัย Juan Zorrilla
อุรุกวัย Andrés Cunha
โอเอฟซี เฟรนช์พอลินีเชีย Kader Zitouni เฟรนช์พอลินีเชีย Philippe Revel นิวซีแลนด์ Nick Waldron
ยูฟ่า ฮังการี Viktor Kassai ฮังการี György Ring
ฮังการี Vencel Toth
สโลวีเนีย Damir Skomina

วิดีโอจากผู้ช่วยผู้ตัดสินจะมีการทดสอบระหว่างทัวร์นาเมนต์.[13]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]
เพลย์ออฟ รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
 8 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ                          
 ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส  2   11 ธันวาคม – โอะซะกะ        
 นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี  1      แอฟริกาใต้ มาเมโลดี ซันดาวน์ส  0
14 ธันวาคม – โอะซะกะ
   ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส  2    
 โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล  0
     ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส  3  
18 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ
 สเปน เรอัลมาดริด (หลังต่อเวลาพิเศษ)  4
11 ธันวาคม – โอะซะกะ
   ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส  2
 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์  1
15 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ
 เม็กซิโก อาเมริกา  2    
 เม็กซิโก อาเมริกา  0
ชิงอันดับ 5 ชิงอันดับ 3
     สเปน เรอัลมาดริด  2  
 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์  4  เม็กซิโก อาเมริกา  2 (3)
 แอฟริกาใต้ มาเมโลดี ซันดาวน์ส  1  โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล (ลูกโทษ)  2 (4)
14 ธันวาคม – โอะซะกะ 18 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, JST (UTC+9).[14]

รอบเพลย์ออฟสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ เกาหลีใต้1–2เม็กซิโก อาเมริกา
คิม โบ-คย็อง ประตู 23' รายงาน โรเมโร ประตู 58'74'

นัดชิงอันดับที่ห้า

[แก้]

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

นัดชิงอันดับที่สาม

[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

อันดับดาวซัลโว

[แก้]
อันดับ ชื่อ สโมสร ประตู
1 โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด สเปน เรอัลมาดริด 4
2 อาร์เจนตินา ซิลวิโอ โรเมโร เม็กซิโก อาเมริกา 2
เกาหลีใต้ คิม โบ-คย็อง เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์
ญี่ปุ่น ยะสุชิ เอ็นโดะ ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
ญี่ปุ่น มุ คะนะซะกิ ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
ญี่ปุ่น กะคุ ชิบะซะกิ ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
ฝรั่งเศส การีม แบนเซมา สเปน เรอัลมาดริด
5 เอกวาดอร์ มิชาเอล อาร์โรโย เม็กซิโก อาเมริกา 1
เม็กซิโก โอริเบ เปรัลตา เม็กซิโก อาเมริกา
เวเนซุเอลา อาเลฮันโดร กูเอร์รา โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล
เกาหลีใต้ คิม แด-วูก นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี
เกาหลีใต้ คิม ชิน-วูก เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์
เกาหลีใต้ ลี จ็อง-โฮ เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์
ญี่ปุ่น ชุเฮะอิ อะคะซะกิ ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
ญี่ปุ่น โชะมะ โดะอิ ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
ญี่ปุ่น ยุมะ ซุซุกิ ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
แอฟริกาใต้ เปอร์ซี ตาอู แอฟริกาใต้ มาเมโลดี ซันดาวน์ส
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

สรุปอันดับการแข่งขัน

[แก้]

Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
1 สเปน เรอัลมาดริด (ยูฟ่า) 2 2 0 0 6 2 +4 6
2 ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส (เอเอฟซี) (H) 4 3 0 1 9 5 +4 9
3 โคลอมเบีย อัตเลตีโก นาซีอองนาล (คอนเมบอล) 2 0 1 1 2 5 −3 1
4 เม็กซิโก อาเมริกา (คอนคาแคฟ) 3 1 1 1 4 5 −1 4
5 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ (เอเอฟซี) 2 1 0 1 5 3 +2 3
6 แอฟริกาใต้ มาเมโลดี ซันดาวน์ส (ซีเอเอฟ) 2 0 0 2 1 6 −5 0
7 นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี (โอเอฟซี) 1 0 0 1 1 2 −1 0
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ

รางวัล

[แก้]
อาดิดาส
ลูกบอลทองคำ
อาดิดาส
ลูกบอลเงิน
อาดิดาส
ลูกบอลทองแดง
โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
(เรอัลมาดริด)
โครเอเชีย ลูคา โมดริช
(เรอัลมาดริด)
ญี่ปุ่น กะคุ ชิบะซะกิ
(คะชิมะ แอนท์เลอร์ส)
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "2016 FIFA Club World Cup awards". Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2016. สืบค้นเมื่อ 18 December 2016.
  2. "Alibaba E-Auto signs as Presenting Partner of the FIFA Club World Cup". FIFA.com. 9 December 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.
  3. 3.0 3.1 "Japan set to host continental champions in 2015 and 2016". FIFA.com. 23 April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-16. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.
  4. "FIFA Executive Committee approves key priorities to restore trust in FIFA". FIFA. 18 March 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-01. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.
  5. "Blatter: A legacy for the future". FIFA.com. 19 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.
  6. "Bidding process opened for eight FIFA competitions". FIFA.com. 19 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-14. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.
  7. "India may get to host FIFA Club World Cup". India.com. 15 October 2014.
  8. "High interest in hosting FIFA competitions". FIFA.com. 9 May 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-31. สืบค้นเมื่อ 2016-04-12.
  9. "India not bidding for 2015 and 2016 Fifa Club World Cups". The Times of India. 13 November 2014. สืบค้นเมื่อ 20 January 2015.
  10. "Innovative Suita City Football Stadium to make FIFA Club World Cup debut". FIFA.com. 9 มิถุนายน ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-18. สืบค้นเมื่อ 2016-11-17. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  11. "Match officials for the FIFA Club World Japan 2016 appointed". 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-16. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08.
  12. "FIFA Club World Cup Japan 2016 Appointment of Match Officials" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-11-15. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08.
  13. "Video Assistant Referees to be tested at FIFA Club World Cup Japan 2016". FIFA.com. 7 ธันวาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-20. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  14. "Match Schedule – FIFA Club World Cup Japan 2016" (PDF). FIFA.com.
  15. "Match report Jeonbuk Hyundai - Club América 1:2 (1:0)" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 ธันวาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-08-04. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  16. "Match report Mamelodi Sundowns - Kashima Antlers 0:2 (0:0)" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 ธันวาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-20. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  17. "Match report Jeonbuk Hyundai - Mamelodi Sundowns 4:1 (3:0)" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 ธันวาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-08-04. สืบค้นเมื่อ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  18. "Match report Atlético Nacional - Kashima Antlers 0:3 (0:1)" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 ธันวาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-13. สืบค้นเมื่อ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  19. "Match report Club América - Real Madrid, C.F. 0:2 (0:1)" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 ธันวาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-20. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  20. "Match report Club América - Atlético Nacional 2:2 (1:2) 3:4 PSO" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 ธันวาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-20. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  21. "Match report – Final – Real Madrid, C.F. v Kashima Antlers" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ December 20, 2016. สืบค้นเมื่อ 18 December 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]