ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015 นัดชิงชนะเลิศ
อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม โยะโกะฮะมะ เป็นสนามที่ใช้ในเกมนัดชิงชนะเลิศ
รายการฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015
วันที่20 ธันวาคม พ.ศ. 2558
สนามอินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม โยะโกะฮะมะ, โยะโกะฮะมะ
ผู้ตัดสินอาลีเรซา ฟากานี (อิหร่าน)
ผู้ชม66,853 คน
สภาพอากาศกลางคืนท้องฟ้าสดใส
5 องศาเซลเซียส (41 องศาฟาเรนไฮต์)
76% ความชื้นสัมพัทธ์
2014
2016

การแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015, เป็นทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลที่เป็นเจ้าภาพโดย ประเทศญี่ปุ่น. ครั้งนี้เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ 11 ของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ทัวร์นาเมนต์ที่มีการจัดขึ้นโดยฟีฟ่าระหว่างสโมสรที่เป็นผู้ชนะจากแต่ละทีมแต่ละสมาพันธ์จากหกทวีป, เช่นเดียวกับแชมป์ลีกจากชาติเจ้าภาพ.

รอบชิงชนะเลิศเป็นการตัดสินกันระหว่าง สโมสรจากอาร์เจนตินา รีเบร์เปลต, เป็นตัวแทนของ คอนเมบอล ในฐานะครองแชมป์ของ โกปาลีเบร์ตาโดเรส และสโมสรจากสเปน บาร์เซโลนา, เป็นตัวแทนของ ยูฟ่า ในฐานะครองแชมป์ของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก. จะลงเล่นที่ อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม โยะโกะฮะมะ ในเมือง โยะโกะฮะมะ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2558.

บาร์เซโลนาชนะนัดนี้ด้วยผลการแข่งขัน 3–0 ส่งผลให้พวกเขาคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกมาครองเป็นสมัยที่สามได้สำเร็จ.[1][2] ชัยชนะสำหรับบาร์เซโลนาถือเป็นโทรฟีที่ห้าของปี 2558.[3]

ภูมิหลัง

[แก้]

รีเบร์เปลต

[แก้]

รีเบร์เปลต ได้สิทธิ์สำหรับทัวร์นาเมนต์ในฐานะทีมชนะเลิศของ โกปาลีเบร์ตาโดเรส ฤดูกาล 2015, ด้วยการเอาชนะด้วยรวมผลสองนัด 3–0 เหนือ อูอาเอ็นแอล ใน นัดชิงชนะเลิศ. นี่เป็นครั้งแรกของรีเบร์เปลตที่ได้เข้าร่วมในทัวร์นาเมนต์นี้. พวกเขาเคยได้ลงเล่นสองครั้งในนาม อินเตอร์คอนติเนนตัล คัพ, ซึ่งเป็นรายการก่อนหน้านี้ของฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ชนะหนึ่งครั้งในปี (ค.ศ. 1986) และแพ้หนึ่งครั้งในปี (ค.ศ. 1996). พวกเขาได้เข้ามาถึงรอบชิงชนะเลิศหลังจากที่เอาชนะสโมสรจากญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ ในรอบรองชนะเลิศ.[4]

บาร์เซโลนา

[แก้]

บาร์เซโลนา ได้สิทธิ์สำหรับทัวร์นาเมนต์ในฐานะทีมชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2014–15, ด้วยการเอาชนะ 3–1 ในการพบกับ ยูเวนตุส ใน เกมนัดชิงชนะเลิศ. นี่เป็นครั้งที่สี่ของบาร์เซโลนาที่ได้เข้าร่วมในทัวร์นาเมนต์, หลังจากที่ได้ชัยชนะในรายการนี้ถึงสองครั้งด้วยกันในปี ค.ศ. 2009 และ ค.ศ. 2011, เช่นเดียวกันกับการเป็นรองชนะเลิศใน ค.ศ. 2006. พวกเขาได้ลงเล่นหนึ่งครั้งใน อินเตอร์คอนติเนนตัล คัพ, แพ้หนึ่งครั้งในปี (ค.ศ. 1992). พวกเขาเข้าสู่นัดชิงชนะเลิศหลังจากเอาชนะสโมสรจากจีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ในรอบรองชนะเลิศ.[5]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ

[แก้]
อาร์เจนตินา รีเบร์เปลต ทีม สเปน บาร์เซโลนา
คอนเมบอล สมาพันธ์ ยูฟ่า
ชนะเลิศของ โกปาลีเบร์ตาโดเรส ฤดูกาล 2015 การเข้ารอบ ชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2014–15
บาย รอบเพลย์ออฟ บาย
บาย รอบก่อนรองชนะเลิศ บาย
1–0 ญี่ปุ่น ซานเฟรชเช ฮิโระชิมะ
(อาลาริโอ 72')
รอบรองชนะเลิศ 3–0 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
(ซัวเรซ 39', 50', 67')

นัด

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

รายละเอียด

[แก้]
รีเบร์เปลต
บาร์เซโลนา
GK 1 อาร์เจนตินา มาร์เซโล บาโรเวโร (กัปตัน)
RB 25 อาร์เจนตินา กาเบรียล แมร์คาโด
CB 2 อาร์เจนตินา โคนาทัน ไมดานา
CB 3 โคลอมเบีย เอแดร์ อัลวาเรซ บาลันตา
LB 21 อาร์เจนตินา เลโอเนล วานจิโอนี
DM 5 อาร์เจนตินา มาตีอัส คราเนวิตเตร์ โดนใบเหลือง ใน 10th นาที 10'
RM 8 อุรุกวัย การ์โลส ซานเชซ
AM 19 อุรุกวัย ตาบาเร วิอูเดซ Substituted off in the 56th นาที 56'
LM 23 อาร์เจนตินา เลโอนาร์โด ปอนซิโอ โดนใบเหลือง ใน 32nd นาที 32' Substituted off in the 46th นาที 46'
CF 7 อุรุกวัย โรดริโก โมรา Substituted off in the 46th นาที 46'
CF 13 อาร์เจนตินา ลูกัส อาลาริโอ
ผู้เล่นสำรอง:
GK 12 อาร์เจนตินา ออกุสโต บาตายา
GK 26 อาร์เจนตินา คูลิโอ ชิอารินี
DF 6 อาร์เจนตินา เลอันโดร เบกา
DF 20 อาร์เจนตินา มิลตัน กัสโก
DF 24 อาร์เจนตินา เอมานูเอล มัมมานา
MF 10 อาร์เจนตินา กอนซาโล มาร์ตีเนซ Substituted on in the 46th minute 46'
MF 16 อาร์เจนตินา นิโกลัส แบร์โตโล
MF 18 อุรุกวัย กามิโล มายาดา
MF 27 อาร์เจนตินา ลูโช กอนซาเลซ Substituted on in the 46th minute 46'
FW 11 อาร์เจนตินา คาเบียร์ ซาบิโอลา
FW 15 อาร์เจนตินา เลโอนาร์โด ปิสกูลิชี
FW 22 อาร์เจนตินา เซบัสตีอัน ดริอุสซี Substituted on in the 56th minute 56'
ผู้จัดการทีม:
อาร์เจนตินา มาร์เซโล กายาร์โด
GK 13 ชิลี เกลาดีโอ บราโบ
RB 6 บราซิล ดานีแยล อัลวิส
CB 3 สเปน ฌาราร์ต ปิเก
CB 14 อาร์เจนตินา คาเบียร์ มาเชราโน Substituted off in the 81st นาที 81'
LB 18 สเปน ฌอร์ดี อัลบา โดนใบเหลือง ใน 16th นาที 16'
RM 4 โครเอเชีย อีวาน ราคีทิช โดนใบเหลือง ใน 43rd นาที 43' Substituted off in the 67th นาที 67'
CM 5 สเปน เซร์คีโอ บุสเกตส์
LM 8 สเปน อันเดรส อีเนียสตา (กัปตัน)
RF 10 อาร์เจนตินา เลียวเนล เมสซี
CF 9 อุรุกวัย ลุยส์ ซัวเรซ
LF 11 บราซิล เนย์มาร์ โดนใบเหลือง ใน 61st นาที 61' Substituted off in the 89th นาที 89'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 เยอรมนี มาร์ค-อันเดร เทอร์ ชเตเกิน
GK 25 สเปน ฌอร์ดี มาซิป
DF 15 สเปน มาร์ก บาร์ตรา
DF 21 บราซิล อาเดรียนู
DF 23 เบลเยียม โตมัส เฟอร์มาเลิน Substituted on in the 81st minute 81'
DF 24 ฝรั่งเศส เฌเรมี มาตีเยอ Substituted on in the 89th minute 89'
MF 20 สเปน เซร์ชี โรเบร์โต โดนใบเหลือง ใน 72nd นาที 72' Substituted on in the 67th minute 67'
MF 26 สเปน เซร์ฌี ซัมเปร์
MF 28 สเปน ฌาราร์ต กุมบาอู
FW 17 สเปน มุนีร อัลฮะดาดี
FW 19 สเปน ซันโดร รามีเรซ
ผู้จัดการทีม:
สเปน ลุยส์ เอนรีเก

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Reza Sokhandan (Iran)
Mohammadreza Mansouri (Iran)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Sidi Alioum (Cameroon)

ข้อมูลในการแข่งขัน[7]

  • 90 นาที.
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • รายชื่อผู้เล่นตัวสำรองมีได้สูงสุดถึง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นมีจำนวนสูงสุดได้ถึง 3 คน

สถิติ

[แก้]