นครหลวงเวียงจันทน์
นครหลวงเวียงจันทน์ ນະຄອນຫຼວງວຽງຈັນ (ลาว) | |
---|---|
แผนที่นครหลวงเวียงจันทน์ | |
แผนที่ประเทศลาวเน้นนครหลวงเวียงจันทน์ | |
พิกัด: 18°06′N 102°36′E / 18.1°N 102.6°E | |
ประเทศ | ลาว |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1989 |
เมืองเอก | จันทบุรี |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 3,920 ตร.กม. (1,510 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 174 เมตร (571 ฟุต) |
ประชากร (สำมะโนเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2020) | |
• ทั้งหมด | 948,477 คน |
• ความหนาแน่น | 240 คน/ตร.กม. (630 คน/ตร.ไมล์) |
เขตเวลา | UTC+7 (เวลาในประเทศลาว) |
รหัส ISO 3166 | LA-VT |
HDI (2017) | 0.795[1] สูง · อันดับที่ 1 |
นครหลวงเวียงจันทน์[2] หรือ นะคอนหลวงเวียงจัน[2] (ลาว: ນະຄອນຫຼວງວຽງຈັນ, นะคอนหลวงเวียงจัน) เดิมชื่อ กำแพงนครเวียงจันทน์ (ກຳແພງນະຄອນວຽງຈັນ) เป็นเขตปกครองที่ตั้งอยู่บริเวณภาคกลาง ครอบคลุมพื้นที่เมืองหลวงของประเทศลาว เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแขวงเวียงจันทน์[3]
นครหลวงเวียงจันทน์เป็นเขตการปกครองที่มีการพัฒนามากในบรรดา 17 แขวงของประเทศลาว โดยตั้งอยู่ชิดกับบริเวณโค้งลำน้ำแม่น้ำโขง ติดชายแดนระหว่างลาวกับไทย โดยมีสะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 เชื่อมการเดินทางระหว่างประเทศ มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 3,920 ตารางกิโลเมตร (1,510 ตารางไมล์) ตัวเมืองเวียงจันทน์ถูกสร้างขึ้นในศตวรรษที่ 16 ในรัชสมัยของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช บริเวณเขตเมืองเก่าเป็นที่ตั้งของวัดวาอาราม พิพิธภัณฑ์ อนุสาวรีย์ และสวนสาธารณะ[4]
การแบ่งเขตการปกครอง
[แก้]นครหลวงเวียงจันทน์ มีเมืองเอก คือ : เมืองจันทบุรี และประกอบด้วยเมืองต่าง ๆ ดังต่อไปนี้:
รหัส | ชื่อ | อักษรลาว | อักษรโรมัน | ประชากร (2020) |
---|---|---|---|---|
01-01 | จันทบุรี | ຈັນທະບູລີ | Chanthabouli | 77,255 |
01-02 | ศรีโคตรบอง | ສີໂຄດຕະບອງ | Sikhôttabong | 138,655 |
01-03 | ไชยเชษฐา | ໄຊເສດຖາ | Xaisétha | 135,209 |
01-04 | ศรีสัตตนาค | ສີສັດຕະນາກ | Sisattanak | 73,610 |
01-05 | นาทรายทอง | ນາຊາຍທອງ | Naxaithong | 88,298 |
01-06 | ชัยธานี | ໄຊທານີ | Xaithani | 234,939 |
01-07 | หาดทรายฟอง | ຫາດຊາຍຟອງ | Hatxaifong | 111,044 |
01-08 | สังข์ทอง | ສັງທອງ | Sangthong | 34,024 |
01-09 | ปากงึ่ม | ປາກງື່ມ | Pakngum | 55,412 |
เมืองที่เป็นตัวอักษรหนาเป็นส่วนหนึ่งของเมืองเวียงจันทน์[3]
ประชากร
[แก้]นครหลวงนี้มีประชากร 820,942 คนตามสำมะโน ค.ศ. 2015[5] อัตราการเติบโตของประชากรโดยเฉลี่ยในช่วง ค.ศ. 1995–2005 อยู่ที่ร้อยละ 2.79[6] กลุ่มชาติพันธุ์หลักในบริเวณนี้คือชาวลาว[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Sub-national HDI - Area Database - Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 13 September 2018.แม่แบบ:Nonspecific
- ↑ 2.0 2.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
- ↑ 3.0 3.1 Www.Lsb.gov.la
- ↑ 4.0 4.1 "Vientiane Municipality". Official Website of Lao Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-26. สืบค้นเมื่อ 2 December 2012.
- ↑ Roberts & Kanaley 2006, p. 212.
- ↑ Roberts & Kanaley 2006, p. 200.
ข้อมูล
[แก้]- Askew, Marc; Logan, William Stewart; Long, Colin (2007). Vientiane: Lao Urbanism, Memory and Identity. Psychology Press. pp. 197–. ISBN 978-0-415-33141-8.
- Brockman, Royston A. C.; Williams, Allen (1 May 1996). Urban infrastructure finance. Asian Development Bank. p. 423. ISBN 978-971-561-108-4.
- Burke, Andrew; Vaisutis, Justine (2007). Laos. Lonely Planet. pp. 91–98. ISBN 978-1-74104-568-0. [1]
- Doeden, Matt (1 January 2007). Laos in Pictures. Twenty-First Century Books. ISBN 978-0-8225-6590-1.
- Chandler, David; Holmshaw, Peter; Stewart, Iain; Waters, Richard (1 June 2011). DK Eyewitness Travel Guide: Cambodia & Laos: Cambodia & Laos. DK Eyewitness Travel Guides, Dorling Kindersley Limited. ISBN 978-1-4053-4985-7.
- Eur (2002). Far East and Australasia 2003. Psychology Press. ISBN 978-1-85743-133-9.
- Fanthorpe, Lionel & Patricia (23 March 2009). Secrets of the World's Undiscovered Treasures. Dundurn. ISBN 978-1-77070-384-1.
- Grabowsky, Volker (1995). Regions and National Integration in Thailand, 1892–1992. Otto Harrassowitz Verlag. ISBN 978-3-447-03608-5.
- Human Rights Watch (1 September 2002). Landmine Monitor Report 2001: Toward a Mine-free World. Human Rights Watch. pp. 557–. ISBN 978-1-56432-262-3.
- Kislenko, Arne (2009). Culture And Customs Of Laos. ABC-CLIO. ISBN 978-0-313-33977-6.
- Lee, Jonathan H. X. (17 September 2012). Laotians in the San Francisco Bay Area. The Center for Lao Studies, Arcadia Publishing. ISBN 978-0-7385-9586-3.
- Roberts, Brian; Kanaley, Trevor (2006). Urbanization and Sustainability in Asia: Good Practice Approaches in Urban Region Development Good Practice Approaches in Urban Region Development. Asian Development Bank. pp. 200–. ISBN 978-971-561-607-2.
- Võ, Thu Tịnh (1972). The Phra Lak-Phra Lam (The Lao version of the Ramayana).: Abridged translation of the manuscript of Vat Kang Tha. Cultural Survey of Laos.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ นครหลวงเวียงจันทน์
- คู่มือการท่องเที่ยว เวียงจันทน์ จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)
- ↑ Burke & Vaisutis 2007, p. 91-98.