ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ75.39%
  First party Second party Third party
 
Sontaya Kunplome 2021 (cropped).jpg
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
พรรค พลังชล ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 8 0
ที่นั่งที่ชนะ 6 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 6 ลดลง 7 เพิ่มขึ้น 1
คะแนนเสียง 142,843 268,328 193,559
% 21.64 40.65 29.32

ผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 8 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดชลบุรี)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
พลังชล 142,843 21.64% เพิ่มขึ้น21.64%
ประชาธิปัตย์ 268,328 40.65% ลดลง16.24%
เพื่อไทย 193,559 29.32% เพิ่มขึ้น5.08%
อื่น ๆ 55,393 8.39% ลดลง10.48%
ผลรวม 660,123 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
พลังชล
  
21.64%
ประชาธิปัตย์
  
40.65%
เพื่อไทย
  
29.32%
อื่น ๆ
  
8.39%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง พลังชล ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 19,829 23.07% 36,310 42.25% 21,430 24.93% 8,379 9.75% 85,948 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 2 23,103 25.77% 39,707 44.28% 19,592 21.85% 7,264 8.10% 89,666 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 3 24,158 25.07% 47,255 49.04% 18,144 18.83% 6,800 7.08% 96,357 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 4 6,495 7.47% 50,555 58.16% 23,484 27.02% 6,388 7.35% 86,922 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 5 20,085 23.96% 31,513 37.60% 24,693 29.46% 7,531 8.99% 83,822 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 6 20,669 26.17% 23,304 29.50% 28,731 36.37% 6,292 7.97% 78,996 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 7 16,721 23.85% 21,171 30.20% 27,136 38.71% 5,078 7.24% 70,106 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 8 11,783 17.25% 18,513 27.10% 30,349 44.43% 7,661 11.22% 68,306 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 142,843 21.64% 268,328 40.65% 193,559 29.32% 55,393 8.39% 660,123 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดชลบุรี)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังชล 8 239,737 37.47% 6 เพิ่มขึ้น6 75.00%
ประชาธิปัตย์ 8 224,250 35.05% 1 ลดลง7 12.50%
เพื่อไทย 8 164,636 25.73% 1 เพิ่มขึ้น1 12.50%
อื่น ๆ 41 11,209 1.75% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 65 639,832 100.00% 8 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
พลังชล
  
37.47%
ประชาธิปัตย์
  
35.05%
เพื่อไทย
  
25.73%
อื่น ๆ
  
1.75%
ที่นั่ง
พลังชล
  
75.00%
ประชาธิปัตย์
  
12.50%
เพื่อไทย
  
12.50%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง พลังชล ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 33,687 41.02% 29,582 36.02% 17,510 21.32% 1,353 1.64% 82,132 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 2 34,415 39.89% 32,875 38.10% 17,702 20.52% 1,289 1.49% 86,281 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 3 44,602 47.10% 38,685 40.85% 10,546 11.14% 868 0.91% 94,701 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 4 4,362 5.11% 50,068 58.61% 30,390 35.57% 608 0.71% 85,428 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 5 36,550 44.96% 25,198 31.00% 18,000 22.14% 1,541 1.90% 81,289 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 6 36,463 47.66% 16,523 21.59% 22,526 29.44% 1,002 1.31% 76,514 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 7 28,402 41.78% 15,839 23.30% 22,622 33.28% 1,110 1.64% 67,973 100.00% พลังชล ได้ที่นั่ง
เขต 8 21,256 32.44% 15,480 23.63% 25,340 38.68% 3,438 5.25% 65,514 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 239,737 37.47% 224,250 35.05% 164,636 25.73% 11,209 1.75% 639,832 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดชลบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 193,559 29.32
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 1,304 0.20
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 2,717 0.41
ประชากรไทย (4) 460 0.07
รักประเทศไทย (5) 28,673 4.34
พลังชล (6) 142,843 21.64
ประชาธรรม (7) 450 0.07
ดำรงไทย (8) 157 0.02
พลังมวลชน (9) 1,573 0.24
ประชาธิปัตย์ (10) 268,328 40.65
ไทยพอเพียง (11) 567 0.09
รักษ์สันติ (12) 6,463 0.98
ไทยเป็นสุข (13) 94 0.01
กิจสังคม (14) 546 0.08
ไทยเป็นไท (15) 135 0.02
ภูมิใจไทย (16) 1,507 0.23
แทนคุณแผ่นดิน (17) 167 0.03
เพื่อฟ้าดิน (18) 158 0.02
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 200 0.03
การเมืองใหม่ (20) 541 0.08
ชาติไทยพัฒนา (21) 2,859 0.43
��สรีนิยม (22) 140 0.02
ชาติสามัคคี (23) 76 0.01
บำรุงเมือง (24) 78 0.01
กสิกรไทย (25) 171 0.03
มาตุภูมิ (26) 2,654 0.40
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 104 0.02
พลังสังคมไทย (28) 63 0.01
เพื่อประชาชนไทย (29) 192 0.03
มหาชน (30) 2,230 0.34
ประชาชนชาวไทย (31) 131 0.02
รักแผ่นดิน (32) 82 0.01
ประชาสันติ (33) 131 0.02
ความหวังใหม่ (34) 79 0.01
อาสามาตุภูมิ (35) 62 0.01
พลังคนกีฬา (36) 208 0.03
พลังชาวนาไทย (37) 112 0.02
ไทยสร้างสรรค์ (38) 31 0.00
เพื่อนเกษตรไทย (39) 111 0.02
มหารัฐพัฒนา (40) 167 0.03
บัตรดี 660,123 91.07
บัตรเสีย 27,189 3.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 37,568 5.18
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 724,880 75.39
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 961,466 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลสำนักบก ตำบลนาป่า ตำบลหนองรี ตำบลหนองข้างคอก ตำบลห้วยกะปิ ตำบลเหมือง ตำบลแสนสุข ตำบลบ้านปึก ตำบลอ่างศิลา และตำบลเสม็ด)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังชล สุชาติ ชมกลิ่น (6) 33,687 41.02
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี วีระ อนันตกูล (10)* 29,582 36.02
เพื่อไทย สง่า ธนสงวนวงศ์ (1)✔ 17,510 21.32
รักษ์สันติ ศุภโชติ ทวิวัฒน์ (12) 532 0.65
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ลภัสรดา เกตุมนตรี (2) 384 0.47
ชาติไทยพัฒนา กวี กมลวัชย์ (21) 204 0.25
การเมืองใหม่ กิจ ไกรทิพยบ์ดี (20) 85 0.10
พลังคนกีฬา จักรพล วชิรเสวีกุล (36) 60 0.07
มาตุภูมิ ปัณณพัฒน์ นิธิสิริจรรยา (26) 44 0.05
เพื่อฟ้าดิน วิชาญ จิระเวชบวรกิจ (18) 44 0.05
ผลรวม 82,132 100.00
บัตรดี 82,132 86.70
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,845 8.28
บัตรเสีย 4,756 5.02
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 94,733 78.32
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 120,964 100.00
พลังชล ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลบ้านสวน ตำบลบางปลาสร้อย ตำบลมะขามหย่ง ตำบลบ้านโขด ตำบลบางทราย ตำบลหนองไม้แดง ตำบลคลองตำหรุ และตำบลดอนหัวฬ่อ) และอำเภอพานทอง (ยกเว้นตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังชล อุกฤษณ์ ตั๊นสวัสดิ์ (6) 34,415 39.89
ประชาธิปัตย์ บรรจบ รุ่งโรจน์ (10)* 32,875 38.10
เพื่อไทย มานิตย์ ภาวสุทธิ์ (1)* 17,702 20.52
รักษ์สันติ เปล่งศักดิ์ ชาระ (12) 1,014 1.18
การเมืองใหม่ ฐาปนา สุทธิธาทิพย์ (20) 95 0.11
มาตุภูมิ ถนอม พิมพ์ใจชน (26) 65 0.08
พลังคนกีฬา จ่าสิบเอก กูณฑ์ จีนประชา (36) 59 0.07
ไทยเป็นไท ฐิติรัตน์ ฉลุมาศจารุอุดม (15) 35 0.04
เพื่อฟ้าดิน นฤมล แซ่เตีย (18) 21 0.02
ผลรวม 86,281 100.00
บัตรดี 86,281 86.87
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,613 7.67
บัตรเสีย 5,418 5.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,312 77.44
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 128,240 100.00
พลังชล ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอเกาะจันทร์ อำเภอพนัสนิคม และอำเภอพานทอง (เฉพาะตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังชล รณเทพ อนุวัฒน์ (6) 44,602 47.10
ประชาธิปัตย์ ประมวล เอมเปีย (10)* 38,685 40.85
เพื่อไทย ประเสริฐ ศิวทัศน์ (1) 10,546 11.14
ชาติไทยพัฒนา ภักดี อินทร์อุดม (21) 350 0.37
ไทยเป็นไท อรกัญญา กมลวรภัทร์ (15) 182 0.19
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน กมลวรรณ ทรงกลด (2) 172 0.18
รักษ์สันติ คณิศร กิตติกรปรีดา (12) 128 0.14
พลังคนกีฬา เฉลิมเกียรติ ศรีชื่น (36) 36 0.04
ผลรวม 94,701 100.00
บัตรดี 94,701 90.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,908 3.74
บัตรเสีย 5,943 5.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,552 82.55
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,657 100.00
พลังชล ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบไปด้วยอำเภอบ้านบึง อำเภอหนองใหญ่ และอำเภอบ่อทอง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สรวุฒิ เนื่องจำนงค์ (10)* 50,068 58.61
เพื่อไทย จิรวุฒิ สิงห์โตทอง (1)✔️ 30,390 35.57
พลังชล สัมฤทธิ์ พงษ์วิรัตน์ (6) 4,362 5.11
รักษ์สันติ สมชาย สกลดิลก (12) 252 0.29
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ณัฐดาพรรณ นันทตันติพัฒน์ (2) 236 0.28
ชาติไทยพัฒนา อรรถเวทย์ ชยางศุ (21) 87 0.10
พลังคนกีฬา อนัญพร พ่วงพลี (36) 33 0.04
ผลรวม 85,428 100.00
บัตรดี 85,428 89.68
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,221 4.43
บัตรเสีย 5,610 5.89
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,259 77.42
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,042 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบไปด้วยอำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังชล พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา (6) 36,550 44.96
ประชาธิปัตย์ ฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์ (10)* 25,198 31.00
เพื่อไทย ชัยศิริมงคล พิริยะภาพสกุล (1) 18,000 22.14
รักษ์สันติ สุศิษฎ์ เปรมแหวว (12) 834 1.03
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ณัชพล แก่นนาคำ (2) 381 0.47
ชาติไทยพัฒนา มั่นเศรษฐ์ ไตรชลาสินธุ์ (21) 250 0.31
มาตุภูมิ อภิชาติ ประพันธ์ (26) 30 0.04
พลังคนกีฬา ภาสกร ธีระวัฒน์เดชา (36) 24 0.03
ไทยเป็นไท พงศ์กิตศ สำเร็จกิจสกุล (15) 22 0.03
ผลรวม 81,289 100.00
บัตรดี 81,289 88.42
ไม่��ระสงค์ลงคะแนน 5,958 6.48
บัตรเสีย 4,692 5.10
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,939 75.57
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,665 100.00
พลังชล ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 6

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบไปด้วยอำเภอเกาะสีชัง อำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง) และอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลบางละมุง ตำบลนาเกลือ ตำบลหนองปลาไหล และตำบลตะเคียนเตี้ย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังชล สุกุมล คุณปลื้ม (6) 36,463 47.66
เพื่อไทย นิชนันท์ วังคะฮาตธัญญกิจ (1) 22,526 29.44
ประชาธิปัตย์ จักกฤช ไกรมาตย์ (10) 16,523 21.59
รักษ์สันติ ประจักษ์ เปรมแหวว (12) 490 0.64
ชาติไทยพัฒนา ณัฐนันท์ รัตนพิไชย (21) 286 0.37
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ประสงค์ ติยะปัญจนิตย์ (2) 196 0.26
พลังคนกีฬา ณัฐวัณณ์ เหลี่ยมเพชร (36) 30 0.04
ผลรวม 76,514 100.00
บัตรดี 76,514 88.09
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,696 6.56
บัตรเสีย 4,645 5.35
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,855 75.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,029 100.00
พลังชล ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 7

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบไปด้วยอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลเขาไม้แก้ว ตำบลโป่ง ตำบลหนองปรือ และตำบลห้วยใหญ่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังชล ปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ (6) 28,402 41.78
เพื่อไทย อดิศร ผลลูกอินทร์ (1) 22,622 33.28
ประชาธิปัตย์ พจนารถ แก้วผลึก (10)* 15,839 23.30
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน สุไอนี เพียรดี (2) 514 0.76
ชาติไทยพัฒนา ทองสุข ทองนาค (21) 296 0.44
รักษ์สันติ กันต์พจน์ ราษฎร์เจริญดี (12) 240 0.35
มาตุภูมิ นิมิต ไมตรีวงศ์ (26) 60 0.09
ผลรวม 67,973 100.00
บัตรดี 67,973 87.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,520 7.13
บัตรเสีย 3,957 5.11
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 77,450 69.39
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,609 100.00
พลังชล ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 8

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบไปด้วยอำเภอสัตหีบ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย พลเรือเอก สุรพล จันทน์แดง (1) 25,340 38.68
พลังชล นาวาเอก วิโรจน์ วังแก้วหิรัญ (6) 21,256 32.44
ประชาธิปัตย์ ไมตรี สอยเหลือง (10)* 15,480 23.63
รักษ์สันติ พลเรือตรีหญิง ดารา บุรสิกพงศ์ (12) 1,763 2.69
ชาติไทยพัฒนา นาวาโท สุทัศน์ วงศ์ปรีดี (21) 848 1.29
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ธนทร บูรณศิลปิน (2) 697 1.06
มาตุภูมิ เสาวลักษณ์ สุริยาทิพย์ (26)✔️ 77 0.12
พลังคนกีฬา ศิริวัฒน์ เจริญวิทย์ (36) 53 0.08
ผลรวม 65,514 100.00
บัตรดี 65,514 87.60
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,748 7.69
บัตรเสีย 3,526 4.71
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,788 65.45
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 114,260 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]