ข้ามไปเนื้อหา

ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์
ภาพก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์ โดยคริสท็อฟ แบร์นฮาร์ท ฟรัง��คอ
เกิดก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ฟ็อน ไลบ์นิทซ์
1 กรกฎาคม ค.ศ.1646
ไลพ์ซิช รัฐผู้คัดเลือกซัคเซิน จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
เสียชีวิต14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1716(1716-11-14) (70 ปี)
ฮันโนเฟอร์ รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
สัญชาติเยอรมัน
การศึกษา
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเยนา (Ph.D.)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
วิทยานิพนธ์
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกBartholomäus Leonhard von Schwendendörffer (Dr. jur. advisor)[1][2]
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆ
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงJacob Bernoulli (epistolary correspondent)
Christian Wolff (epistolary correspondent)
มีอิทธิพลต่อจอร์จ บาร์กลีย์, Platner, วอลแตร์, เดวิด ฮูม, อิมมานูเอล คานต์, เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์, จอร์จ บูล, Wiener, ควร์ท เกอเดิล, แบร์นฮาร์ท รีมัน, คาร์ล ฟรีดริช เกาส์, โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์, เลออนฮาร์ด ออยเลอร์, Heidegger, ชาร์ล แซนเดอร์ส เพียร์ซ, Tarski, เบอนัว ม็องแดลโบรต, Wundt, ก็อทโลพ เฟรเกอ, Rescher, Rauschenbusch[5]
ได้รับอิทธิพลจากลัทธิอัสมาจารย์, แอริสตอเติล, อาร์คิมิดีส, ยุคลิด, Apollonius of Perga, เพลโต, Suárez, แอนน์ คอนเวย์, เรอเน เดการ์ต, โทมัส ฮอบส์, Malebranche, บารุค สปิโนซา, Bossuet, แบลซ ปัสกาล, ขงจื๊อ
ลายมือชื่อ

ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ฟ็อน ไลบ์นิทซ์ (เยอรมัน: Gottfried Wilhelm von Leibniz, [ˈɡɔtfʁiːt ˈvɪlhɛlm fɔn ˈlaɪbnɪts]; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1646 – 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1716) เป็นนักปรัชญา, นักวิทยาศาสตร์, นักคณิตศาสตร์, นักการทูต, บรรณารักษ์ และนักกฎหมายชาวเยอรมัน เขาเป็นคนที่เริ่มใช้คำว่า "ฟังก์ชัน" สำหรับอธิบายปริมาณที่เกี่ยวกับเส้นโค้ง เช่น ความชันของเส้นโค้ง หรือจุดบางจุดของเส้นโค้งดังกล่าว ไลบ์นิทซ์และนิวตันได้รับการยกย่องร่วมกันว่าเป็นผู้เริ่มพัฒนาแคลคูลัส โดยเฉพาะส่วนของไลบ์นิทซ์ในการพัฒนาปริพันธ์และกฎผลคูณ เป็นคนแรกที่ให้ความหมายของ เลขฐานสอง

อ้างอิง

[แก้]
  1. Kurt Huber, Leibniz: Der Philosoph der universalen Harmonie, Severus Verlag, 2014, p. 29.
  2. ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์ at the Mathematics Genealogy Project
  3. Arthur 2014, p. 16.
  4. Arthur 2014, p. 13.
  5. McNab, John (1972). Towards a Theology of Social Concern: A Comparative Study of the Elements for Social Concern in the Writings of Frederick D. Maurice and Walter Rauschenbusch (วิทยานิพนธ์ PhD). Montreal: McGill University. p. 201. สืบค้นเมื่อ February 6, 2019.
  6. Michael Blamauer (ed.), The Mental as Fundamental: New Perspectives on Panpsychism, Walter de Gruyter, 2013, p. 111.
  7. Fumerton, Richard (21 February 2000). "Foundationalist Theories of Epistemic Justification". Stanford Encyclopedia of Philosophy. สืบค้นเมื่อ August 19, 2018.
  8. Stefano Di Bella, Tad M. Schmaltz (eds.), The Problem of Universals in Early Modern Philosophy, Oxford University Press, 2017, p. 207 n. 25: "Leibniz's conceptualism [is related to] the Ockhamist tradition..."
  9. A. B. Dickerson, Kant on Representation and Objectivity, Cambridge University Press, 2003, p. 85.
  10. The Correspondence Theory of Truth (Stanford Encyclopedia of Philosophy)