ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(ต่าง) ←รุ่นเก่ากว่านี้ | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นที่ใหม่กว่า → (ต่าง)
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต3
คะแนนเสียง100,437 (ประชาธิปัตย์)
51,055 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาธิปัตย์ (2)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายมิ่ง เลาห์เรณู

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์, อำเภอกุยบุรี และกิ่งอำเภอสามร้อยยอด (ยกเว้นตำบลศิลาลอยและตำบลศาลาลัย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหัวหิน, อำเภอปราณบุรี และกิ่งอำเภอสามร้อยยอด (เฉพาะตำบลศิลาลอยและตำบลศาลาลัย)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอทับสะแก, อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานน้อย
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองประ���วบคีรีขันธ์, อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอปราณบุรีและอำเภอหัวหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอทับสะแก, อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานน้อย
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสามร้อยยอด, อำเภอกุยบุรี, อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ (ยกเว้นตำบลห้วยทราย) และอำเภอปราณบุรี (เฉพาะตำบลปากน้ำปราณ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหัวหินและอำเภอปราณบุรี (ยกเว้นตำบลปากน้ำปราณ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางสะพานน้อย, อำเภอบางสะพาน, อำเภอทับสะแก และอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ (เฉพาะตำบลห้วยทราย)
3 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายมิ่ง เลาห์เรณู
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายทองสืบ ศุภมาร์ค
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 หม่อมหลวงต้อย ชุมสาย
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 หลวงอุปกรรัตถวิถี (สระ แสงชูโต)
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายทองสืบ ศุภมาร์ค

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายทองสืบ ศุภมาร์ค
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายต้าน ประจวบเหมาะ
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง

ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522

[แก้]
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง
นายพีระพงศ์ อิศรภักดี นายสำเภา ประจวบเหมาะ นายสำเภา ประจวบเหมาะ

ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายสำเภา ประจวบเหมาะ นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง นายวิเศษ ใจใหญ่
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายสำเภา ประจวบเหมาะ นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง นายวิเศษ ใจใหญ่

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายมนตรี ปาน้อยนนท์
2 นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน
3 ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์ นายประมวล พงศ์ถาวราเดช

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน
นายมนตรี ปาน้อยนนท์
นายประมวล พงศ์ถาวราเดช

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายมนตรี ปาน้อยนนท์ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน นายประมวล พงศ์ถาวราเดช
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายพรเทพ วิสุทธิ์วัฒนศักดิ์
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายสังคม แดงโชติ นายจักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]