รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออก
รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายตะวันออก มีจำนวน 79 สถานี
หมายเหตุ: ที่หยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี
รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน
รายชื่อสถานีรถไฟ
[แก้]กรุงเทพ (หัวลําโพง) – ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี [1] |
ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||||
กรุงเทพ – ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก | ||||||||||
กรุงเทพ (หัวลําโพง) | 1001 | กท. | 0.00 กม. | 1 | รองเมือง | ปทุมวัน | กรุงเทพมหานคร | เริ่มต้นทางรถไฟสายตะวันออกที่สถานีนี้ ออกจากสถานีเป็นทางสาม ทางทีหนึ่งและสองเป็นทางสำหรับสายใต้ สายเหนือ และสายตะวันออกเฉียงเหนือ
| ||
อุรุพงษ์ | 3102 | รุ. | 2.64 กม. | ป้ายหยุดรถ | ทุ่งพญาไท | ราชเทวี |
เมื่อพ้นจุดตัดทางรถไฟที่ถนนพระรามที่ 6 จะเริ่มเขตทางคู่ช่วงอุรุพงษ์-มักกะสัน โดยรางคู่ด้านซ้ายจะเป็นขบวนรถสินค้าและขบวน 376 จากสถานีรถไฟรังสิต | |||
พญาไท | 3103 | ญท. | 3.67 กม. | ป้ายหยุดรถ | ถนนพญาไท | |||||
มักกะสัน | 3001 | มส. | 5.17 กม. | 2 | มักกะสัน | สิ้นสุดทางคู่ เริ่มเขตทางเดี่ยว ช่วงมักกะสัน-หัวหมาก และและมีทางแยกไปสถานีแม่น้ำและโรงกลั่นน้ำมันบางจาก
| ||||
อโศก | 3105 | อโ. | 6.98 กม. | ป้ายหยุดรถ |
เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สถานีมักกะสัน และรถไฟฟ้ามหานคร สถานีเพชรบุรี | |||||
คลองตัน | 3009 | คต. | 9.85 กม. | 2 | บางกะปิ | ห้วยขวาง | ||||
สุขุมวิท 71 | 3106 | วท. | 11.14 กม. | ป้ายหยุดรถ | สวนหลวง | สวนหลวง |
เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สถานีรามคำแหง | |||
หัวหมาก | 3010 | หม. | 15.18 กม. | 2 | สิ้นสุดเขตทางเดี่ยว เริ่มเขตทางสาม ช่วงหัวหมาก-ชุมทางฉะเชิงเทรา และเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สถานีหัวหมาก และเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีเหลือง สถานีพัฒนาการ
| |||||
บ้านทับช้าง | 3012 | ทช. | 20.87 กม. | 3 | ประเวศ | ประเวศ |
เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์บ้านทับช้าง | |||
ซอยวัดลานบุญ | 3013 | ซว. | 23.94 กม. | ป้ายหยุดรถ | ลาดกระบัง | ลาดกระบัง |
เชื่อมต่อกับวัดลานบุญ และ ถนนลาดกระบัง ซอย 1 | |||
ลาดกระบัง | 3014 | ะบ. | 26.75 กม. | 3 | เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ลาดกระบัง
| |||||
พระจอมเกล้า | 3107 | พม. | 30.33 กม. | ป้ายหยุดรถ |
เชื่อมต่อกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง | |||||
หัวตะเข้ | 3015 | หข. | 30.91 กม. | 2 | เชื่อมต่อกับคณะวิทยาศาสตร์ และคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และโรงเรียนพรตพิทยพยัต
| |||||
บรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง | 3016 | ซด. | 33.86 กม. | พิเศษ | คลองสามประเวศ |
มีทางแยกเข้าไปที่สถานีหัวตะเข้ ตัวสถานีไม่อยู่ติดเส้นทางรถโดยสารตามปกติ จึงไม่มีการหยุดรับส่งผู้โดยสาร | ||||
คลองหลวงแพ่ง | 3017 | คพ. | 39.50 กม. | 4 | ขุมทอง |
สถานีสุดท้ายในเขตกรุงเทพมหานคร, มีพื้นที่ใกล้เคียงกับคลองหลวงแพ่ง และตำบลคลองหลวงแพ่ง ในอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยใช้กึ่งกลางคลองเป็นเส้นแบ่งเขตจังหวัด | ||||
คลองอุดมชลจร | 3018 | ดจ. | 43.43 กม. | ป้ายหยุดรถ | คลองอุดมชลจร | เมืองฉะเชิงเทรา | ฉะเชิงเทรา | |||
เปรง | 3019 | คป. | 46.49 กม. | 3 | คลองเปรง | เป็นต้นทาง/ปลายทางของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 507/508 ระหว่างสถานีรถไฟเปรง – สถานีรถไฟหินลับ
| ||||
คลองแขวงกลั่น | 3020 | แข. | 51.02 กม. | ป้ายหยุดรถ | บางเตย |
ที่หยุดรถใกล้กับตลาดคลองสวน 100 ปี | ||||
คลองบางพระ | 3021 | คบ. | 53.99 กม. | 4 |
| |||||
บางเตย | 3022 | งย. | 57.10 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||||
ชุมทางฉะเชิงเทรา | 3023 | ฉท. | 60.99 กม. | 1 | หน้าเมือง | สิ้นสุดทางสาม เริ่มเขตทางคู่ช่วง ชุมทางฉะเชิงเทรา – ชุมทางคลองสิบเก้า – ชุมทางแก่งคอย ,
| ||||
โพรงอากาศ | 3053 | โก. | 74.53 กม. | ที่หยุดรถ | โพรงอากาศ | บางน้ำเปรี้ยว |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2528[2] | |||
บางน้ำเปรี้ยว | 3055 | บย. | 79.04 กม. | 3 | บางขนาก | |||||
ชุมทางคลองสิบเก้า | 3057 | สเ | 85.60 กม. | 3 | โยธะกา | มีทางแยกไปเชื่อมต่อกับทางสายอีสานที่สถานีชุมทางแก่งคอย ในเส้นทาง ชุมทางคลองสิบเก้า – ชุมทางแก่งคอย และเป็นทางคู่ , เข้าเขตทางเดี่ยวช่วง ชุมทางคลองสิบเก้า – ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก
| ||||
คลองยี่สิบเอ็ด | 3058 | เอ. | 89.42 กม. | ที่หยุดรถ | ||||||
โยทะกา | 3059 | ยท. | 93.73 กม. | 4 | บางเตย | บ้านสร้าง | ปราจีนบุรี |
ชื่อสถานีนี้พ้องกับชือ "ตำบลโยธะกา" ของอำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา แต่ตัวสถานีรถไฟอยู่ในเขตตำบลบางเตย อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี | ||
บ้านสร้าง | 3061 | สา. | 101.53 กม. | 3 | บ้านสร้าง | |||||
หนองน้ำขาว | 3063 | งข. | 109.49 กม. | ที่หยุดรถ | บางพลวง | |||||
บ้านปากพลี | 3064 | าป. | 115.28 กม. | 4 | ปากพลี | ปากพลี | นครนายก |
ตำบลปากพลี อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก กับตำบลวัดโบสถ์ อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างตำบล โดยตัวสถานีอยู่ในเขตตำบลปากพลี[5] ด้านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลวัดโบสถ์[6] | ||
ปราจีนบุรี | 3066 | ปจ. | 121.78 กม. | 1 | หน้าเมือง | เมืองปราจีนบุรี | ปราจีนบุรี | ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองปราจีนบุรี[7][8], โดยยึดตามหลักเขตเทศบาลและหลักเขตตำบล[9]
| ||
บ้านหนองกระจับ | 3067 | อะ. | 126.25 กม. | ป้ายหยุดรถ | ดงพระราม | |||||
โคกมะกอก | 3068 | กอ. | 131.00 กม. | 4 | โนนห้อม | |||||
ประจันตคาม | 3070 | จค. | 137.65 กม. | 3 | ประจันตคาม | ประจันตคาม |
| |||
หนองแสง | 3071 | หแ. | 143.41 กม. | ป้ายหยุดรถ | หนองแสง | |||||
บ้านดงบัง | 3072 | ดบ. | 146.73 กม. | 4 | ดงบัง | |||||
หนองศรีวิชัย | 3125 | ศิ. | 148.91 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||||
บ้านพรมแสง | 3073 | พส. | 151.85 กม. | ที่หยุดรถ | วังดาล | กบินทร์บุรี |
เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว | |||
เกาะแดง | 3074 | เด. | 156.15 กม. | ที่หยุดรถ | ||||||
กบินทร์บุรี | 3075 | กบ. | 161.26 กม. | 2 | กบินทร์ | สถานีตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลกบินทร์ ตำบลกบินทร์[10][11]
| ||||
กบินทร์เก่า | 3076 | กก. | 165.50 กม. | ที่หยุดรถ | เมืองเก่า | |||||
หนองสัง | 3077 | อส. | 172.71 กม. | 4 | บ้านนา | |||||
พระปรง | 3081 | พป. | 183.76 กม. | ที่หยุดรถ |
เดิมเป็นที่หยุดรถ เปิดเป็นสถานีในวันที่ 15 ธันวาคม 2496[12] และยุบเป็นที่หยุดรถในภายหลัง | |||||
บ้านแก้ง | 3083 | นแ. | 190.06 กม. | 4 | บ้านแก้ง | เมืองสระแก้ว | สระแก้ว |
หลังจากเหตุการณ์ไฟไหม้อาคารสถานีในปี 2555 จนถูกยุบเป็นที่หยุดรถไปช่วงหนึ่ง[13] ปัจจุบันมีการสร้างอาคารสถานีขึ้นใหม่ในโครงการปี 2562[14][15] ใช้แบบอาคารจากสถานีสีคิ้ว[16] และมีฐานะเป็นสถานี | ||
ศาลาลำดวน | 3085 | ลด. | 195.87 กม. | ที่หยุดรถ | ศาลาลำดวน |
เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว, ตำบลศาลาลำดวนและตำบลโคกปี่ฆ้องใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเป็นแนวแบ่งเขต[17] ตัวอาคารสถานีจึงอยู่ในเขตตำบลศาลาลำดวน ส่วนด้านทางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตตำบลโคกปี่ฆ้อง | ||||
สระแก้ว | 3087 | ะก. | 205.25 กม. | 3 | สระแก้ว |
| ||||
ศูนย์ราชการจังหวัดสระแก้ว | 3089 | ศก. | 212.938 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าเกษม |
เป็นที่หยุดรถไฟ แต่ไม่ได้มีอยู่ในสารบบของการรถไฟแห่งประเทศไทย | ||||
ท่าเกษม | 3090 | ทเ. | 216.28 กม. | ที่หยุดรถ | ||||||
ห้วยโจด | 3092 | ยจ. | 223.40 กม. | ที่หยุดรถ | ห้วยโจด | วัฒนานคร |
เดิมเป็นที่หยุดรถ เปิดเป็นสถานีในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2497[18] และยุบเป็นที่หยุดรถในภายหลัง | |||
วัฒนานคร | 3094 | วค. | 233.86 กม. | 3 | วัฒนานคร |
| ||||
บ้านโป่งคอม | 3096 | อม. | 240.32 กม. | ที่หยุดรถ | ผักขะ | |||||
ห้วยเดื่อ | 3097 | หอ. | 245.03 กม. | ที่หยุดรถ |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[19] | |||||
อรัญประเทศ | 3100 | อร. | 254.50 กม. | 2 | อรัญประเทศ | อรัญประเทศ |
| |||
ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก | 3130 | ลง. | 260.23 กม. | 4 |
สุดทางรถไฟสายตะวันออกเหนือที่สถานีนี้ และเป็นสถานีรถไฟสุดท้ายในเขตประเทศไทย ก่อนเข้าสู่เขตกัมพูชาที่สถานีรถไฟปอยเปต |
ชุมทางฉะเชิงเทรา – จุกเสม็ด
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี [20] |
ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางฉะเชิงเทรา – จุกเสม็ด | ||||||||
ชุมทางฉะเชิงเทรา | 3023 | ฉท. | 60.99 กม. | 1 | หน้าเมือง | เมืองฉะเชิงเทรา | ฉะเชิงเทรา |
สถานีรถไฟประจำจังหวัดฉะเชิงเทรา , มีทางแยกไปสายตะวันออกเหนือ ในเส้นทาง ชุมทางฉะเชิงเทรา – ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก , เข้าเขตทางคู่ช่วง ชุมทางฉะเชิงเทรา – ชุมทางศรีราชา – แหลมฉบัง |
แปดริ้ว | 3025 | แร. | 62.87 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
ดอนสีนนท์ | 3026 | ดอ. | 75.97 กม. | 4 | หนองตีนนก | บ้านโพธิ์ |
| |
พานทอง | 3029 | งท. | 91.53 กม. | 3 | พานทอง | พานทอง | ชลบุรี | |
ชลบุรี | 3032 | ชบ. | 107.79 กม. | 1 | บ้านสวน, หนองข้างคอก | เมืองชลบุรี | กึ่งกลางอาคารสถานี เป็นเส้นแบ่งเขตตำบล อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านเหนือ เป็นเขตตำบลบ้านสวน อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านใต้ เป็นเขตตำบลหนองข้างคอก
| |
บางพระ | 3034 | ระ. | 121.31 กม. | 4 | บางพระ | ศรีราชา | เชื่อมต่อกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ และตลาดหินเพิง
| |
เขาพระบาท | 3035 | ขะ. | 125.35 กม. | ที่หยุดรถ |
เชื่อมต่อกับ ถนนสุขุมวิท | |||
ค่ายลูกเสือวชิราวุธ | ที่หยุดรถ |
เชื่อมต่อกับ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ | ||||||
ชุมทางศรีราชา | 3036 | ศช. | 130.60 กม. | 2 | สุรศักดิ์ | มีทางคู่แยกไปท่าเรือแหลมฉบัง ในเส้นทาง ชุมทางศรีราชา – แหลมฉบัง และเป็นทางเดี่ยวจนถึงท่าเรือแหลมฉบัง รวมทั้งบริเวณนั้นจะมีที่ตั้งของโรงรถจักร CSR , เข้าเขตทางเดี่ยวช่วง ชุมทางศรีราชา – ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ
| ||
บางละมุง | 3039 | มุ. | 144.08 กม. | 2 | บางละมุง | บางละมุง |
มีทางแยกเข้าคลังก๊าซ ปตท. สถานีรถไฟบางละมุงเป็นต้นทางของขบวนรถสินค้าบรรทุกแก๊สที่มีปลายทางไปยัง สถานีรถไฟสำราญ และสถานีรถไฟนครสวรรค์ (ในอดีตเคยมีขบวนรถขนแก๊สไปยังปลายทางนครลำปาง) | |
พัทยา | 3041 | พา. | 155.14 กม. | 2 | นาเกลือ | สถานีรถไฟในเขตเมืองพัทยา
| ||
พัทยาใต้ | 3042 | ใต. | 158.82 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
ตลาดน้ำ 4 ภาค | 3124 | ตภ. | 163.00 กม. | ที่หยุดรถ |
ตัวชานชลาอยู่ติดกับตลาดน้ำ 4 ภาค มีขบวนรถพิเศษโดยสารที่ 997/998 (กรุงเทพ–จุกเสม็ด–กรุงเทพ) หยุดรับส่งผู้โดยสารที่ป้ายหยุดรถนี้ในวันเสาร์ อาทิตย์ | |||
บ้านห้วยขวาง | 3043 | ยข. | 168.34 กม. | 3 | ห้วยใหญ่ | |||
ญาณสังวราราม | 3123 | ญส. | 171.10 กม. | ที่หยุดรถ | นาจอมเทียน | สัตหีบ | ||
สวนนงนุช | 3044 | นุ. | 174.09 กม. | ที่หยุดรถ |
ตัวชานชลาอยู่ในสวนนงนุช, มีขบวนรถพิเศษโดยสารที่ 997/998 (กรุงเทพ–จุกเสม็ด–กรุงเทพ) หยุดรับส่งผู้โดยสารที่ป้ายหยุดรถนี้ในวันเสาร์ อาทิตย์ | |||
ชุมทางเขาชีจรรย์ | 3045 | ชจ. | 180.00 กม. | 4 | บางเสร่ |
มีทางคู่แยกไปสถานีรถไฟมาบตาพุด จังหวัดระยอง ในเส้นทาง ชุมทางเขาชีจรรย์ – มาบตาพุด และเป็นทางเดี่ยว | ||
บ้านพลูตาหลวง | 3047 | พต. | 184.03 กม. | 4 | พลูตาหลวง | |||
อู่ตะเภา | 3048 | อต. | 189.00 กม. | 4 | สัตหีบ | |||
จุกเสม็ด | 3049 | จเ. | 195.00 กม. | 4 |
ชุมทางศรีราชา – แหลมฉบัง (ศช.–ฉบ.)
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี [21] |
ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||||
ชุมทางศรีราชา – ท่าเรือแหลมฉบัง | ||||||||||
ชุมทางศรีราชา | 3036 | ศช. | 130.60 กม. | 2 | สุรศักดิ์ | ศรีราชา | ชลบุรี | |||
แหลมฉบัง | 3037 | ฉบ | 139.85 กม. | 1 | ทุ่งสุขลา |
ชุมทางเขาชีจรรย์ – มาบตาพุด (ชจ.–าพ.)
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี [22] |
ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||||
ชุมทางเขาชีจรรย์ – มาบตาพุด | ||||||||||
ชุมทางเขาชีจรรย์ | 3045 | ชจ. | 180.00 กม. | 4 | บางเสร่ | สัตหีบ | ชลบุรี |
ตรงไปในเส้นทางเดิม คือ สายตะวันออกใต้ สุดเส้นทางที่สถานีจุกเสม็ดที่กำลังก่อสร้างใหม่ | ||
บ้านฉาง | 3110 | บฉ. | 192.25 กม. | 4 | บ้านฉาง | บ้านฉาง | ระยอง | |||
มาบตาพุด | 3115 | าพ. | 200.48 กม. | 3 | มาบตาพุด | เมืองระยอง |
ในอดีตนั้น การรถไฟฯ เคยมีโครงการทางรถไฟไปจังหวัดตราด แต่เนื่องจากมีปัญหาเรื่องงบประมาณ จึงถูกยกเลิกโครงการไปในที่สุด |
ชุมทางคลองสิบเก้า – ชุมทางแก่งคอย (สเ.–กค.)
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี [23] |
ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||||
ชุมทางคลองสิบเก้า – ชุมทางแก่งคอย | ||||||||||
ชุมทางคลองสิบเก้า | 3057 | สเ. | 85.60 กม. | 3 | โยธะกา | บางน้ำเปรี้ยว | ฉะเชิงเทรา |
ยังอยู่ในเขตทางคู่ช่วง ชุมทางฉะเชิงเทรา – ชุมทางคลองสิบเก้า – ชุมทางแก่งคอย , ตรงไปในเส้นทางเดิม คือ สายตะวันออกเหนือ ซึ่งจะเข้าเขตทางเดี่ยว สุดเส้นทางที่สถานีด่านพรมแดนบ้านคลองลึก | ||
องครักษ์ | 3118 | อษ. | 115.00 กม. | 4 | คลองใหญ่ | องครักษ์ | นครนายก |
| ||
วิหารแดง | 3120 | วแ. | 138.40 กม. | 4 | หนองสรวง | วิหารแดง | สระบุรี |
| ||
เข้าอุโมงค์พระพุทธฉาย ยาว 1197.00 เมตร กม.147+102.046 ถึง กม.148+299.046 | ||||||||||
บุใหญ่ | 3121 | ให. | 149.00 กม. | 4 | ห้วยแห้ง | แก่งคอย | สระบุรี | |||
ชุมทางบ้านไผ่นาบุญ | 3122 | บญ. | 162.811 กม. | 4 | ตลิ่งชัน | เมืองสระบุรี |
เป็นสถานีที่ก่อสร้างขึ้นใหม่ในโครงการรถไฟทางคู่ช่วง ชุมทางคลองสิบเก้า – ชุมทางแก่งคอย โดยมี Chord line ที่เป็นทางแยกออกซ้ายไปเชื่อมกับสาย ชุมทางบ้านภาชี – นครราชสีมา – อุบลราชธานี หรือสายอีสานใต้ที่สถานีชุมทางหนองบัว | |||
ชุมทางหนองบัว | 2009 | นบ. | 119.24 กม. | 3 |
เป็นสถานีที่แยกไปทางด้านซ้าย จากสถานีรถไฟชุมทางบ้านไผ่นาบุญ | |||||
ชุมทางแก่งคอย | 2011 | กค. | 125.10 กม. | 1 | แก่งคอย | แก่งคอย |
เป็นสถานีที่แยกไปทางด้านขวาจากสถานีรถไฟชุมทางบ้านไผ่นาบุญ, เชื่อมบรรจบกับเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี – นครราชสีมา – อุบลราชธานี หรือสายอีสานใต้ที่สถานีแห่งนี้ |
มักกะสัน – แม่น้ำ (มส.–มน.)
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี [24] |
ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | แขวง | เขต | จังหวัด | ||||||
มักกะสัน – แม่น้ำ | ||||||||||
มักกะสัน | 3001 | มส. | 5.17 กม. | 2 | มักกะสัน | ราชเทวี | กรุงเทพมหานคร | |||
แม่น้ำ | 3002 | มน. | 9.87 กม. | 3 | ช่องนนทรี | ยานนาวา |
ใช้ประแจกลสายลวด สัญญาณไฟสีสองท่า และห่วงตราทางสะดวกควบคุมการเดินรถ ตัวสถานีไม่ได้อยู่ติดเส้นทางรถโดยสารปกติ จึงไม่มีการหยุดรับส่งผู้โดยสาร แต่มีการจองตั๋วรถโดยสารเหมือนกันกับสถานีทั่วไป | |||
ท่าเรือใหม่ | 3003 | รห. | 14.00 กม. | พิเศษ | คลองเตย | คลองเตย |
ถัดไปเป็นลานกองคอนเทนเนอร์ (CY) บนเส้นทางสายแม่น้ำ | |||
โรงกลั่นน้ำมันบางจาก | 3004 | งจ. | 22.00 กม. | พิเศษ | พระโขนงใต้ | พระโขนง |
ตั้งอยู่ในพื้นที่หวงห้ามของบริษัท ปตท. จำกัด มหาชน ขบวนรถที่ไปถึงที่แห่งนี้ต้องเป็นขบวนรถน้ำมันเท่านั้น |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2528
- ↑ "คำสั่ง ยกที่หยุดรถหนองน้ำขาว เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2497
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2528
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลปากพลี อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. ���ืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๙" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 73 (48 ก): 676–681. วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2499
- ↑ "พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๑๖" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 90 (159 ก): (ฉบับพิเศษ) 20-25. วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลกบินทร์ อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 72 (74 ง): (ฉบับพิเศษ) 30-31. วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2498
- ↑ "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. ๒๕๐๐" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 75 (16 ก): 460–463. วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
- ↑ "คำสั่งยกที่หยุดรถด่านพระปรง สายตะวันออก เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2496
- ↑ สถานีรถไฟบ้านแก้งอายุกว่า 100 ปี วอดทั้งหลัง
- ↑ "การจ้างงานก่อสร้างอาคารสถานีบ้านแก้ง (จำนวน 1 หลัง) ที่ย่านสถานีบ้านแก้ง แขวงบำรุงทางวัฒนานคร กองบำรุงทางเขตฉะเชิงเทรา ศูนย์บำรุงทางภาคกลาง ฝ่ายการช่างโยธา". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-27. สืบค้นเมื่อ 2021-09-27.
- ↑ "ร่างขอบเขตของงาน การก่อสร้างอาคารสถานีรถไฟบ้านแก้ง (จำนวน ๑ หลัง) ที่ย่านสถานีบ้านแก้ง แขวงบำรุงทางวัฒนานคร กองบำรุงทางเขตฉะเชิงเทรา ศูนย์บำรุงทางภาคกลาง ฝ่ายการช่างโยธา การรถไฟแห่งประเทศไทย่" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-09-27. สืบค้นเมื่อ 2021-09-27.
- ↑ "รายการประกอบแบบและข้อกำหนดทั่วไป – แบบอาคารสถานีสีคิ้ว" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-09-27. สืบค้นเมื่อ 2021-09-27.
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอสระแก้ว จังหวัดปราจีนบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 89 (133 ง): 2224–2226. วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2515
- ↑ "คำสั่งยกที่หยุดรถห้วยโจด กม. 223 เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2519 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
- ↑ "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
- ↑ "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
- ↑ "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
- ↑ "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
- ↑ "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567