ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามพระมหากษัตริย์เปอร์เซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จักรวรรดิเปอร์เซียโบราณ

[แก้]
แผนที่จักรวรรดิเปอร์เซียสมัยราชวงศ์อะคีเมนิด
พระรูป พระอิสสริยยศ พระนาม พระนามก่อนครองราชย์ ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์อะคีเมนิด (559–334/327 ก่อนคริสตกาล)
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ราชาแห่งอันชาน, กษัตริย์มีเดีย, กษัตริย์บาบิโลน, กษัตริย์ซูเมอร์และอัคคัด , ราชาแห่งจตุรทิศในโลก ไซรัสมหาราช 600 ปีก่อนคริสตกาล พระราลโอรสในพระเจ้าแคมไบซิสที่ 1แห่งอันชาน และ พระนางมันดานา พระราชธิดาใน พระเจ้าแอสเตียเกส 559–530 ปีก่อนคริสตกาล 530 ปีก่อนคริสตกาล กษัตริย์แห่งอันชานตั้งแต่ 559 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์ในการศึกกับมาสซาเกต
มหาราช, ราชาเหนือราชา, , ฟาโรห์อียิปต์ แคมไบซิสที่ 2 ? พระราชโอรสในพระเจ้าไซรัสมหาราช 530–522 ปีก่อนคริสตกาล 521 ปีก่อนคริสตกาล สวรรคตขณะปราบกบฏ

ในสถานะฟาโรห์: ฮอรัส: สมาทาวี (Smatawy), นัสวบาตี (Nswbty): เมซูติเร[1]

มหาราช, ราชาเหนือราชา, , ฟาโรห์อียิปต์ บาร์ดียา เกามาตา (?) ? พระราชโอรสในพระเจ้าไซรัสมหาราช (possibly an imposter claiming to be Bardiya) 522 ปีก่อนคริสตกาล 522 ปีก่อนคริสตกาล ขุนนางเปอร์เซียปลงพระชนม์
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ ดาริอุสที่ 1 550 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสใน ฮิสตัสเปส 522–486 ปีก่อนคริสตกาล 486 ปีก่อนคริสตกาล Pharaonic titulary: ฮอรัส: เมนนกิบ

นัสวบาตี (Nswbty): สตูเตร[2]

มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ เซอร์เซสที่ 1 519 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในพระเจ้าดาริดุสที่ 1 485–465 ปีก่อนคริสตกาล 465 ปีก่อนคริสตกาล เป็นไปได้ว่าคือกษัตริย์อาฮาซูเอรุสจากคัมภีร์แห่งเอสเทอรฺ์[3]
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ อาร์ตาเซอร์เซสที่ 1 อาร์เชส ? พระราชโอรสในพระเจ้าเซอร์เซสที่ 1 465–424 ปีก่อนคริสตกาล 424 ปีก่อนคริสตกาล บางกระแสเชื่อว่าจะเป็นกษัตริย์อาฮาซูเอรุสจากคัมภีร์แห่งเอสเทอรฺ์
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ เซอร์เซสที่ 2 อาตาร์เซอร์เซส ? พระราชโอรสในพระเจ้าอาร์ตาเซอร์เซสที่ 1 424 ปีก่อนคริสตกาล 424 ปีก่อนคริสตกาล ได้รับการยอมรับเฉพาะในเปอร์เซียเท่านั้น, ซอกดิอานุสปลงพระชนม์
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ ? ซอกดิอานุส ? พระราชโอรสในพระเจ้าอาร์ตาเซอร์เซสที่ 1 424–423 ปีก่อนคริสตกาล 423 ปีก่อนคริสตกาล ได้รับการยอมรับเฉพาะในเปอร์เซียและอีแลม, ดาริอุสที่ 2 ปลงพระชนม์
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ ดาริอุสที่ 2 ออคัส ? พระราชโอรสในพระเจ้าอาร์ตาเซอร์เซสที่ 1 424–404 ปีก่อนคริสตกาล 404 ปีก่อนคริสตกาล
มหาราช, ราชาเหนือราชา อาร์ตาเซอร์เซสที่ 2 อาร์ซาเชส 436 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในพระเจ้าดาริอุสที่ 2 404–358 ปีก่อนคริสตกาล 358 ปีก่อนคริสตกาล
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ อาร์ตาเซอร์เซสที่ 3 ออคัส ? พระราชโอรสในพระเจ้าอาร์ตาเซอร์เซสที่ 2 358–338 ปีก่อนคริสตกาล 338 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ อาร์ตาเซอร์เซสที่ 4 อาร์เชส ? พระราชโอรสในพระเจ้าอาร์ตาเซอร์เซสที่ 3 338–336 ปีก่อนคริสตกาล 336 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์
มหาราช, ราชาเหนือราชา, ฟาโรห์อียิปต์ ดาริอุสที่ 3 อาร์ตาชาตา 380 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในอาร์ซาเมส โอรสในออสตาเนส พระราชโอรสในดาริอุสที่ 2 336–330 ปีก่อนคริสตกาล 330 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์โดยพระเจ้าอาร์ตาเซอร์เซสที่ 5
มหาราช, ราชาเหนือราชา, อาร์ตาเซอร์เซสที่ 5 เบสซัส ? คาดว่าสืบเชือสายจากอาร์ตาเซอร์เซสที่ 2 330–329 ปีก่อนคริสตกาล 329 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์โดยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 3

หมายเหตุ: เปอร์เซียโบราณได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าสิ้นสุดลงเมื่อราชวงศ์อะคีเมนิดล่มสลายจากสงครามพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช

จักรวรรดิมาซิโดเนียน

[แก้]
The Macedonian Empire at its greatest extent
พระรูป พระอิสสริยยศ พระนาม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์อาร์เกรด (336–306 BCE)
กษัตริย์ อเล็กซานเดอร์มหาราช 356 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในพระเจ้าพีลิปที่ 2 แห่งมาซิโดเนีย 336–323 ปีก่อนคริสตกาล 13 มิถุนายน 323 ปีก่อนคริสตกาล กษัตริย์มาซิโดเนียเมื่อ 336 ปีก่อนคริสตกาล ในนามอเล็กซานเดอร์ที่ 3
กษัตริย์ ฟิลิปที่ 3 แห่งมาซิโดเนีย ราว 359 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในพระเจ้าพีลิปที่ 2 แห่งมาซิโดเนีย มิถุนายน 323– 317 ปีก่อนคริสตกาล 317 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์โดยโอลิมเปียส
กษัตริย์ อเล็กซานเดอร์ที่ 4 แห่งมาซิโดเนีย กันยายน 323 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสองค์เดียวในพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช กันยายน 323–309 ปีก่อนคริสตกาล 309 ปีก่อนคริสตกาล กษัตริย์มาซิโดเนียในนามอเล็กซานเดอร์ที่ 4 ถึง 309 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์โดยคาสซานเดอร์
ผู้สำเร็จราชการ เพอร์ดิกกัส ? มิถุนายน 323–321ปีก่อนคริสตกาล 321 ปีก่อนคริสตกาล สำเร็จราชการแทนอเล็กซานเดอร์ที่ 4 กับฟิลิปที่ 3 เจ้าโอเรสติส
ผู้สำเร็จราชการ แอนติปาเตอร์ 398 ปีก่อนคริสตกาล บุตรแห่งอิโอลาส 321–319 ปีก่อนคริสตกาล 319 ปีก่อนคริสตกาล สำเร็จราชการแทนอเล็กซานเดอร์ที่ 4 กับฟิลิปที่ 3
ผู้สำเร็จราชการ โพลีเพอร์ชอน 394 ปีก่อนคริสตกาล บุตรของซิมเมียส 319–316 ก่อนคริสตกาล 303 ปีก่อนคริสตกาล สำเร็จราชการแทนอเล็กซานเดอร์ที่ 4 กับฟิลิปที่ 3 ไม่มีอำนาจที่แท้จริงในเปอร์เซีย
ผู้สำเร็จราชการ คาสซานเดอร์ ราว 350 ปีก่อนคริสตกาล บุตรของแอนติปาเตอร์ 316–309 ปีก่อนคริสตกาล 297 ปีก่อนคริสตกาล สำเร็จราชการแทนและปลงพระชนม์อเล็กซานเดอร์ที่ 4 ไม่มีอำนาจที่แท้จริงในเปอร์เซีย

จักรวรรดิซิลูซิด

[แก้]
จักรวรรดิเซลูซิดในยุคที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ที่สุด
พระรูป พระอิสสริยยศ พระนาม พระนามก่อนครองราชย์ ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์ซิลูซิด (311–129 ปีก่อนคริสตกาล)
กษัตริย์ เซลูคัสที่ 1 นิเคเตอร์ ราว 358 ปีก่อนคริสตกาล บุตรของแอนโทนิคัส บุตรแห่งเซลูคัส 311–281 ปีก่อนคริสตกาล 281ปีก่อนคริสตกาล Assumed title of "King" from 306 BCE.
กษัตริย์ แอนโทนิคัสที่ 1 โซเตอร์ ? พระราชโอรสในเซลูคัสที่ 1 281–261 ปีก่อนคริสตกาล 261 ปีก่อนคริสตกาล ปกครองร่วมตั้งแต่ 291 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ แอนโทนิคัสที่ 2 ธีออส 286 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในแอนโทนิคัสที่ 1 261–246 ปีก่อนคริสตกาล 246 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ เซลูคัสที่ 2 คาลินิคัส ? พระราชโอรสในแอนโทนิคัสที่ 2 246–225 ปีก่อนคริสตกาล 225 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ เซลูคัสที่ 3 คาเรนุส อเล็กซานเดอร์ ราว 243 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในเซลูคัสที่ 2 225–223 ปีก่อนคริสตกาล 223 ปีก่อนคริสตกาล
มหาราช แอนโทนิคัสที่ 3 มหาราช ป. 241 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในเซลูคัสที่ 2 223–187 ปีก่อนคริสตกาล 187 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ เซลูคัสที่ 4 ฟิโลปาเตอร์ ? พระราชโอรสในแอนโทนิคัสที่ 3 187–175 ปีก่อนคริสตกาล 175 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ แอนโทนิคัสที่ 4 เอปิฟาเนส มิทริเดทส์ ป. 215 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในแอนโทนิคัสที่ 3 175–163 ปีก่อนคริสตกาล 163 ปีก่อนคริสตกาล Killed in Elymais
กษัตริย์ แอนโทนิคัสที่ 5 ยูปาเตอร์ circa 172 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในแอนโทนิคัสที่ 4 163–161 ปีก่อนคริสตกาล 161 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ เดเมทริอุสที่ 1 โซเตอร์ 185 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในเซลูคัสที่ 4 161–150 ปีก่อนคริสตกาล 150 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ อเล็กซานเดอร์ บาลาส ? อ้างว่าเป็นพระราชโอรสในแอนโทนิคัสที่ 4 150–146 ปีก่อนคริสตกาล 146 ปีก่อนคริสตกาล
กษัตริย์ เดเมทริอุสที่ 2 นิเคเตอร์ ? พระราชโอรสในเดเมทริอุสที่ 1 146–139 ปีก่อนคริสตกาล 139 ปีก่อนคริสตกาล Defeated and captured by Parthians. He married Rhodogune daughter of Mithridates I
กษัตริย์ แอนโทนิคัสที่ 6 ไดโอนิสซัส 148 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในอเล็กซานเดอร์ที่ 3 145–142 ปีก่อนคริสตกาล 138 ปีก่อนคริสตกาล In competition with Demetrius II.
กษัตริย์ แอนโทนิคัสที่ 7 ซิเดเตส ? พระราชโอรสในเดเมทริอุสที่ 1 139–129 ปีก่อนคริสตกาล 129 ปีก่อนคริสตกาล Killed in battle with Phraates II

จักรวรรดิพาร์เธีย

[แก้]
The Parthian Empire at its greatest extent

ราชวงศ์เซลูชิดเสื่อมอิทธิพลในเปอร์เซีย 253, ราชวงศ์อาร์ซาชิดสถาปนาอำนาจในพาร์เทีย จักรวรรดิพาร์เทียนค่อยๆขยายอิทธิพลของพวกเขาจนกระทั่งถึงกลางศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ราชวงศ์เซลูซิดได้สูญเสียการควบคุมของเปอร์เซียอย่างสมบูรณ และเริ่มเสียอิทธิพลในดินแดนตะวันออกโดยพระเจ้าแอนโทนิคัสที่ 7 เมื่อ 129 ปีก่อนคริสตกาล

พระรูป พระอิสสริยยศ พระนาม พระนามก่อนครองราชย์ ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์อาร์ซาชิด (247 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 228)
King, Karen, Autocrator อาร์ซาเซสที่ 1 ทิริดาเตสที่ 1 หรือ อาร์ซาเซส ? เชื้อสายของอาร์ซาเซส บุตรของฟริอาปาเทียส ผู้ที่น่าจะเป็นโอรสในอาร์ตาเซอร์เซสที่ 2 แห่งเปอร์เซีย 247–211 ปีก่อนคริสตกาล 211 ปีก่อนคริสตกาล
? อาร์ซาเซสที่ 2 อาร์ตาบานัสที่ 1 หรือ อาร์ซาเซส ? พระราชโอรสในอาร์ซาเซสที่ 1 211–185 ปีก่อนคริสตกาล[4] 185 ปีก่อนคริสตกาล
? อาร์ซาเซสที่ 3 ฟิราปาเทียส ? พระราชนัดดาใน ททริดาเตสที่ 1 185–170 ปีก่อนคริสตกาล[4] 170 ปีก่อนคริสตกาล
? อาร์ซาเซสที่ 4 ฟราอาเตสที่ 1 ? พระราชโอรสในฟิราปาเทียส 170–167 ปีก่อนคริสตกาล[5] 167 ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, Theos, Theopator, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 5 มิทริดาเตสที่ 1 ? พระราชโอรสในฟิราปาเทียส 167[5] –132 ปีก่อนคริสตกาล[6] 132 ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, Philopator, Theopator, Nikephoros อาร์ซาเซสที่ 6 ฟราอาเตสที่ 2 ? พระราชโอรสในมิทริดาเตสที่ 1 132–127 ปีก่อนคริสตกาล[6] 127 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์ในการศึกกับซีเทียน
กษัตริย์ อาร์ซาเซสที่ 7 อาร์ตาบานัสที่ 2 ? พระราชโอรสในฟิราปาเทียส 127–126 ปีก่อนคริสตกาล[6] 126 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์ในการศึกกับโทคาเรียน
The Great King, Theopator, Philadelphos, Philhellene, Epiphanes อาร์ซาเซสที่ 8 โวโลกาเซส(?)[6] ? พระราชโอรสในฟิราปาเทียส 126–122 ปีก่อนคริสตกาล[6] 122 ปีก่อนคริสตกาล He was the first Arsacid king of Media, Arran and Iberia
The Great King, King of kings, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 9 อาร์ตาบานัส(?)[6] ? พระราชโอรสในอาร์ตาบานัสที่ 2 122–121 ปีก่อนคริสตกาล 121 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์ในการศึกกับมีเดียน
The Great King, The Great King of Kings, Epiphanes, Soter อาร์ซาเซสที่ 10 มิทริดาเตสที่ 2 ? พระราชโอรสในอาร์ตาบานัสที่ 2 121[7]–91 BC 91 ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, Epiphanes, Philhellene, Euergetes, Autocrator อาร์ซาเซสที่ 11 กอทาร์เซสที่ 1 ? พระราชโอรสในมิทริดาเตสที่ 2 91–87 ปีก่อนคริสตกาล 87 ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, Theopator, Nicator อาร์ซาเซสที่ 12 อาร์ตาบานัส(?)[5] ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน อาร์ซาเซสที่ 8 โวโลกาเซส (?) 91–77? ปีก่อนคริสตกาล 77? ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, The Great King of Kings, Dikaios, Euergetes, Philhellene, Autocrator, Philopator, Epiphanes อาร์ซาเซสที่ 13 มิทริดาเตส[6] ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสในมิทริดาเตสที่ 2 88–67 ปีก่อนคริสตกาล 67 ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, Euergetes, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 14 โอโรเดสที่ 1 ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสในมิทริดาเตสที่ 2 80–75 ปีก่อนคริสตกาล 75 ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, Theopator, Euergetes, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 15 ซานาตรูเซส 157 ปีก่อนคริสตกาล สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน อาร์ซาเซสที่ 8 โวโลกาเซส (?)[5] 77–70 ปีก่อนคริสตกาล 70 ปีก่อนคริสตกาล
The Great King, Theopator, Euergetes, Epiphanes, Philhellene, Eusebes อาร์ซาเซสที่ 16[5] อาร์ซาเซส(?) / วาร์ดาเนส(?) / โวโนเนส(?) ? ? 77–66 ปีก่อนคริสตกาล 66 ปีก่อนคริสตกาล The most obscure major monarch of the first millennium BC. Nothing about him is currently known.
The Great King, Theos, Euergetes, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 17 ฟราอาเตสที่ 3 ? พระราชโอรสในซานาตรูเซส 70–57 ปีก่อนคริสตกาล 57 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์โดยโอโรเดสที่ 2
The Great King, Philopator, Euergetes, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 18[5] ? ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน อาร์ซาเซสที่ 16 66–63 ปีก่อนคริสตกาล 63 ปีก่อนคริสตกาล The second most obscure monarch of the first millennium BC, nothing about him is known.
The Great King, The Great King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Theos, Eupator, Theopator, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 19 มิทริดาเตสที่ 3 ? พระราชโอรสในฟราอาเตสที่ 3 65[5] –54 BC 54 ปีก่อนคริสตกาล โอโรเดสที่ 2 ปลงพระชนม์
King of Kings, Philopator, Eupator, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene, Ktistes อาร์ซาเซสที่ 20 โอโรเดสที่ 2 ? พระราชโอรสในฟราอาเตสที่ 3 57–38 ปีก่อนคริสตกาล 38 ปีก่อนคริสตกาล ฟราอาเตสที่ 4 ปลงพระชนม์
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 21 ปาโกรัสที่ 1 ? พระราชโอรสในโอโรเดสที่ 2 50–38 ปีก่อนคริสตกาล 38 ปีก่อนคริสตกาล ถูกปลงพระชนม์ในการศึกกับโรมัน
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 22 ฟราอาเตสที่ 4 ? พระราชโอรสในโอโรเดสที่ 2 38–2 ปีก่อนคริสตกาล 2 ปีก่อนคริสตกาล มูซาปลงพระชนม์
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene, Autocrator, Philoromaeos อาร์ซาเซสที่ 23 ทิริดาเตสที่ 2 ? สันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากอาร์ซาเซสที่ 13 มิทริดาเตส 30–25 ปีก่อนคริสตกาล after 23 ปีก่อนคริสตกาล ถูกถอดจากราชสมบัติแล้วเดินทางไปยังโรม
? อาร์ซาเซสที่ 24 มิทริอาเดต[8] ? สันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากอาร์ซาเซสที่ 13 มิทริดาเตส 12–9 ปีก่อนคริสตกาล ?
Queen of Queens, Thea, Urania มูซา มูซา ? พระราชินีใน ฟราอาเตสที่ 4 2 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 4 ค.ศ. 4?
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 25 ฟราอาเตสที่ 5 ? พระราชโอรสใน ฟราอาเตสที่ 4 & มูซา 2 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 4 ค.ศ. 4 ถูกถอดจากราชสมบัติแล้วเดินทางไปยังโรม
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 26 โอโรเดสที่ 3 ? สันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากอาร์ซาเซสที่ 13 มิทริดาเตส 4–6 6 ขุนนางพาร์เธียนปลงพระชนม์
The Great King, King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene, Nikephorus อาร์ซาเซสที่ 27 โวโนเนสที่ 1 ? พระราชโอรสในฟราอาเตสที่ 4 8–12 19 ถูกถอดจากราชสมบัติแล้วเดินทางไปยังโรม ต่อมาถูกชาวโรมันปลงพระชนม์
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 28 อาร์ตาบานัสที่ 3 ? สันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากอาร์ซาเซสที่ 13 มิทริดาเตส 10–40 40
? อาร์ซาเซสที่ 29 ทิริดาเตสที่ 3 ? สันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากทิริดาเตสที่ 2 35–36 ? ถูกถอดจากราชสมบัติแล้วเดินทางไปยังโรม
? อาร์ซาเซสที่ 30 ชินนามัส ? พระราชโอรสในอาร์ตาบานัสที่ 3 37 ? สละราชสมบัติ
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 31 กอตาร์เซสที่ 2 11 พระราชโอรสใน อาร์ตาบานัสที่ 3 40–51 51
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 32 วาร์ดาเนสที่ 1 ? พระราชโอรสใน อาร์ตาบานัสที่ 3 40–46 46 Killed by Gotarzes II
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 33 โวโนเนสที่ 2 ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน อาร์ตาบานัสที่ 3 ป. 45–51 51
? อาร์ซาเซสที่ 34 มิทริเดต[9] ? พระราชโอรสในโวโนเนสที่ 1 49–50 ? Deposed and mutilated by Gotarzes II
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene, The Lord อาร์ซาเซสที่ 35 โวโลกาเซสที่ 1 ? พระราชโอรสในโวโนเนสที่ 2 51–77 77
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 36 วาร์ดาเนสที่ 2 ? พระราชโอรสในโวโลกาเซสที่ 1 55–58 ? ถูกถอดจากราชสมบัติ
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 37 โวโลกาเซสที่ 2 ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในโวโลกาเซสที่ 1 77–89/90 ?
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 38 ปากอรัสที่ 2 ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสองค์เล็กในโวโลกาเซสที่ 1 77–115 115
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 39 อาร์ตาบานัสที่ 4 ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน โวโลกาเซสที่ 1 หรืออาร์ตาบานัสที่ 3 80–81 ?
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 40 ออสโรเอซที่ 1 ? พระอนุชาในปากอรัสที่ 2 89/90–130 130
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 41 โวโลกาเซสที่ 3 ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน ซานาตรูเกสที่ 1 กษัตริย์อาร์เมเนียช่วง 89–109 ผู้เป็นพรอนุชาในออสโรเอซที่ 1 105–148 148 เป็นกษัตริย์อาร์เมเนียในพระนามโวโลกาเซสที่ 1
King of Kings, Euergetes, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 42 พาร์ทามาสปาเตส ? พระราชโอรสในออสโรเอซที่ 1 116–117 after 123 ถูกถอดจากราชสมบัติแล้วเดินทางไปยังโรม
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 43 มิทริดาเตสที่ 4 ? สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน ออสโรเอซที่ 1 ป. 130 – ป. 145 ป. 145
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 44[10] ? ? ? ป. 140 – ป. 140 ป. 140
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 45 โวโลกาเซสที่ 4 ? พระราชโอรสในมิทริดาเตสที่ 4 148–191 191
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 46 โวโลกาเซสที่ 5 ? พระราชโอรสในโวโลกาเซสที่ 4 191–208 208
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 47 ออสโรเอสที่ 2 ? คาดว่าเป็นพระราชโอรสใน โวโลกาเซสที่ 4 ป. 190 – ป. 195 ?
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 48 โวโลกาเซสที่ 6 181 พระราชโอรสใน โวโลกาเซสที่ 5 208–228 228 อาร์ดาชีร์ที่ 1 ปลงพระชนม์
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 49 อาร์ตาบานัสที่ 5 ? พระราชโอรสใน โวโลกาเซสที่ 5 213–226 226 อาร์ดาชีร์ที่ 1 ปลงพระชนม์
King of Kings, Dikaios, Epiphanes, Philhellene อาร์ซาเซสที่ 50 ทิริดาเตสที่ 4[11] ? พระราชโอรสใน โวโลกาเซสที่ 4 217–222 ? ทรงเป็นกษัตริย์อาร์เมเนีย

จักรวรรดิซาเซเนียน

[แก้]
The Sasanian Empire at its greatest extent
พระรูป พระยศ พระรมาภิไธย พระนามเดิม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล Death หมายเหตุ
ราชวงศ์ซาซาน
ชาห์ฮันชาห์[12] อาร์ดาชีร์ที่ 1 180 พระโอรสในปาปัก, โอรสในซาซาน 28 April 224 – February 242 February 242
ชาห์ฮันชาห์ ชาปูร์ที่ 1 215 พระราชโอรสในอาร์ดาชีร์ที่ 1 12 April 240 – May 270 May 270
ชาห์ฮันชาห์, Wuzurg Armananshah[13] ฮอร์มิซต์ที่ 1 Hormozd-Ardashir ? พระราชโอรสในชาปูร์ที่ 1 May 270 – June 271 June 271
ชาห์ฮันชาห์, Gilanshah บาห์รัมที่ 1 ? พระราชโอรสในชาปูร์ที่ 1 June 271 – September 274 September 274
ชาห์ฮันชาห์ บาห์รัมที่ 2 ? พระราชโอรสในบาห์รัมที่ 1 September 274 – 293 293
ชาห์ฮันชาห์, Sakanshah บาห์รัมที่ 3 ? พระราชโอรสในบาห์รัมที่ 2 293 293 ถูกถอดจากราชสมบัติ
ชาห์ฮันชาห์, Wuzurg Armananshah นาร์เซห์ที่ 1 ? พระราชโอรสในชาปูร์ที่ 1 293–302 302
ชาห์ฮันชาห์ ฮอร์มิซต์ที่ 2 ? พระราชโอรสในนาร์เซห์ที่ 1 302–309 309 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ชาห์ฮันชาห์ อาดูรนาร์เซห์ ? พระราชโอรสในฮอร์มิซต์ที่ 2 309 309 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ชาห์ฮันชาห์, Dhū al-aktāf[14] ชาปูร์ที่ 2 309 พระราชโอรสในฮอร์มิซต์ที่ 2 309–379 379
ชาห์ฮันชาห์ อาร์ดาชีร์ที่ 2 309/310 พระราชโอรสในฮอร์มิซต์ที่ 2 379–383 383
ชาห์ฮันชาห์ ชาปูร์ที่ 3 ? พระราชโอรสใน ชาปูร์ที่ 2 383 – December 388 December 388 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ชาห์ฮันชาห์, กีร์มานชาห์ บาห์รัมที่ 4 ? พระราชโอรสในชาปูร์ที่ 2 December 388 – 399 399
ชาห์ฮันชาห์ ยาซเดเกิร์ดที่ 1 363 พระราชโอรสในชาปูร์ที่ 3 399 – 21 January 420 21 January 420 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ชาห์ฮันชาห์ บาห์รัมที่ 5 406 พระราชโอรสในยาซเดเกิร์ดที่ 1 21 January 420 – 20 June 438 20 June 438
ชาห์ฮันชาห์ ยาซเดเกิร์ดที่ 2 ? พระราชโอรสใน บาห์รัมที่ 5 20 June 438 – 15 December 457 15 December 457
ชาห์ฮันชาห์ ฮอร์มิซต์ที่ 3 399 พระราชโอรสในยาซเดเกิร์ดที่ 2 457–459 459 เปรอซที่ 1ปลงพระชนม์
ชาห์ฮันชาห์ เปรอซที่ 1 459 พระราชโอรสใน ยาซเดเกิร์ดที่ 2 457 – January 484 January 484 Killed in battle with Hephthalites
ชาห์ฮันชาห์ บาลาซ ? พระราชโอรสใน ยาซเดเกิร์ดที่ 2 February 484 – 488 488
ชาห์ฮันชาห์ คาวาดที่ 1 449 พระราชโอรสในเปรอซที่ 1 488–496 13 September 531 ถูกถอดจากราชสมบัติ
ชาห์ฮันชาห์ จามาสพ์ ? พระราชโอรสในเปรอซที่ 1 496–498 502 ถูกถอดจากราชสมบัติ
ชาห์ฮันชาห์ คาวาดที่ 1 449 พระราชโอรสในเปรอซที่ 1 498 – 13 September 531 13 September 531
ชาห์ฮันชาห์, อานูชิราวัน, ผู้เที่ยงธรรม คอสเราที่ 1 500 พระราชโอรสในคาวาดที่ 1 13 September 531 – 31 January 579 31 January 579
ชาห์ฮันชาห์ ฮอร์มิซต์ที่ 4 540 พระราชโอรสใน คอสเราที่ 1 31 January 579 – 5 September 590 5 September 590 Killed by Vistahm
ชาห์ฮันชาห์, อะปาร์วิซ คอสเราที่ 2 570 พระราชโอรสใน ฮอร์มิซด์ที่ 4 September 590 – September 590 February 28, 628 ถูกถอดจากราชสมบัติและเดินทางไปยังไบแซนไทน์
ราชวงศ์มิราน
ชาห์ฮันชาห์, ชูบิเนห์ บาห์รัมที่ 6 เมห์บันดัก ? พระราชโอรสใน บาห์รัม กุชนาสพ์ แห่ง ราชวงศ์มิราน September – 590 January 591 591 ถูกปลงพระชนม์ภายใต้คำสั่งของคอสเราที่ 2
ราชวงศ์ซาซาน
ชาห์ฮันชาห์, Aparviz คอสเราที่ 2 570 พระราชโอรสใน ฮอร์มิซด์ที่ 4 January 591 – 25 February 628 February 28, 628 Executed by Mihr Hormozd under the orders of Kavadh II
ราชวงศ์อิสปาบูดาน
ชาห์ฮันชาห์ วิสตาม ? พระโอรสในชาปูร์แห่งราชวงศ์อิสปาบูดาน. เป็นพระมาตุลาในคอสเราที่ 2 และสวามีของกอร์ดูยา พระขนิษฐาในบาห์รัมที่ 6 591 – 596 or 600 596 or 600 ถูกปลงพระชนม์โดยกอร์ดูยาหรือนายพลปาริโอก
ราชวงศ์ซาซาน
ชาห์ฮันชาห์ คาวาดที่ 2 ชิรูยาห์ ? พระราชโอรสในคอสเราที่ 2 25 February 628 – 15 September 628 15 September 628 สวรรคตด้วยโรคระบาด
ชาห์ฮันชาห์ อาร์ดาชีร์ที่ 3 621 พระราชโอรสในคาวาดที่ 2 15 September 628 – 27 April 629 27 April 629 ถูกปลงพระชนม์โดยชาห์บาราซ
ราชวงศ์มิห์ราน
ชาห์ฮันชาห์, Shahrvaraz ชาห์บาราส ? นายพลซาสเซเนียนแห่งราชวงศ์มิห์ราน 27 April 629 – 17 June 629 17 June 629 ถูกปลงพระชนม์โดยฟารุก ฮอร์มิดส์ โดยพระราชเสาวนีย์ของโบรานดุกต์
ราชวงศ์ซาซาน
ชาห์ฮันชาห์ คอสเราที่ 3 ? พระภาคิไนยในคอสเราที่ 2 630 630 ถูกปลงพระชนม์หลังครองราชย์ไม่กี่วัน
ชาห์บานู[15] โบรานดุกต์ 590 พระราชธิดาในคอสเราที่ 2 17 June 629 – 16 June 630 (รัชกาลแรก)

631 – 632 (รัชกาลที่ 2)

632 ขุนนางอิหร่านถอดจากราชสมบัติและเชิญชาปูร-อี-ชาห์วาราซ

หวนกลับมาครองราชย์อีกครั้ง, ภายหลังถูกปิรุส คอสเรารัดพระศอจนสวรรคต

ชาห์ฮันชาห์ ชาปูร-อี-ชาห์วาราซ ? พระราชโอรสในชาห์รบาราซกับพระขนิษฐาในคอสเราที่ 2 630 ? ขุนนางอิหร่านถอดขากราชสมบัติและเชิญอาซาร์มีดอกต์
ชาห์ฮันชาห์ เปรอซที่ 2 Gushnasp-Bandeh ? พระราชโอรสใน มิห์ราน-กอชนาสพ์และชาฮาร์บักต์ผู้เป็นพรระธิดาในยาซดันดัด พระโอรสในคอสเราที่ 1 630 630 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ชาห์บานู อาร์ซามิดอก ? พระราชธิดาในคอสเราที่ 2 630–631 631 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ชาห์ฮันชาห์ คอสเราที่ 4 กุรราซด์ ? พระราชโอรสในคอสเราที่ 2 631 631 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ราชวงศ์อิสปาบูดาน
ชาห์ฮันชาห์ ฟารุก ฮอร์มิดส์ ? พระราชโอรสในนายพลวินดูยี น้องชายของวิสตาม 630–631 631 Killed by Siyavakhsh under the orders of Azarmidokht
ราชวงศ์ซาซาน
ชาห์ฮันชาห์ ฮอร์มิซต์ที่ 6 ? พระราชนัดดาในคอสเราที่ 2 630–631 631 ขุนนางอิหร่านปลงพระชนม์
ชาห์ฮันชาห์ ยาซเดเกิร์ดที่ 3 624 พระโอรสในชาร์จาห์ผู้เป็นพระราชโอรสในคอสเราที่ 2 16 June 632–651 651 ถูกปลงพระชนม์

หมายเหตุ: โดยทั่วไปแล้ว เป็นที่ตกลงกันว่า สมัยเปอร์เซียคลาสสิกจะสิ้นสุดลงด้วยการล่มสลายของจักรวรรดิซาสเซเนียนอันเป็นผลมาจากการพิชิตเปอร์เซียของชาวมุสลิม

อาณาจักรดาบูยิด (642–760)

[แก้]
อาณาจักรดาบูยิด (c. 720)

ราชวงศ์เปอร์เซียผู้นับถือศาสนาโซโรอัสเตอร์ซึ่งเรืองอำนาจในทางเหนือเป็นเวลาศตวรรษเศษจนเสียเมืองให้รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะห์

เหรียญ พระยศ พระนาม ประสูติ ความสัมพันธฺ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์ดาบูยิด (642–760)
Ispahbadh กิล กาว์บารา ? พระราชโอรสในปิรุซ 642–660 660
Ispahbadh, Gil-Gilan, Padashwargarshah ดาบูยา ? พระราชโอรสในกิล กาว์บารา 660–676 676
Ispahbadh, Gil-Gilan, Padashwargarshah ฟารุกข่านมหาราช ? พระราชโอรสในดาบูยา 712–728 728
Ispahbadh, Gil-Gilan, Padashwargarshah ดาดบูร์ซมีร์ ? พระราชโอรสในฟารุกข่านมหาราช 728–740/741 740/741
Ispahbadh, Gil-Gilan, Padashwargarshah ฟารุกข่านผู้น้อย ? พระราชโอรสในฟารุกข่านมหาราช 740/741–747/48 747/48 กุรชิดแห่งตาบาริสถานสำเร็จราชการแทน
Ispahbadh, Gil-Gilan, Padashwargarshah กุรชิด 734 พระราชโอรสในดาดบูร์ซมีร์ 740/741–760 761 อัตนิวิบาตกรรม

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน

[แก้]

ยุคนี้กาหลิบมาจากการเลือกตั้ง

ตราประจำพระองค์ พระยศ พระนาม กุนยา ประสูติ ความสัมพันธ์ สมัย สิ้นพระชนม์ Notes
อัล-ฟารุก, กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อุมัร อิบน์ อัล-คาฏาบ อบู ฮัฟต์ 583 บุตรของคาฏาบ อิบน์ นูฟาอิล. 642–644 644 อุมัรได้รับเลือกเป็นกาหลิบในค.ศ. 634 และยึดครองเปอร์เซียได้ในค.ศ. 642 ถูกปิรุส นาฮาวันดิลอบสังหาร
ซุลนุร็อยน์ , กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อุษมาน อิบน์ อัฟฟาน อะบู อามีร์ 579 บุตรของอัฟฟาน, จากตระกูลอุมัยยะห์ 644–656 656 ถูกพวกคาวาริจลอบสังหาร
อัล-มอรตาฟา, กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน, มหาอิหม่าม อาลี อิบน์ อะบู ฏอลิบ อะบูล-ฮะซัน 598 บุตรของอะบู ฏอลิบ, จากตระกูลฮาเชม บุตรเขยของนบีมูฮัมหมัด. 656–661 661 ถูกพวกคาวาริจลอบสังหาร

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

[แก้]
แผนที่รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะห์ (c. 750)
พระรูป พระยศ พระนาม กุนยา ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน มุอาวิยะห์ที่ 1 อะบู อับดุลลาห์ ? บุตรของอะบู ซุฟญาน อิบน์ อัฟฟาน, ลูกพี่ลูกน้องของอุษมาน อิบน์อัฟฟาน ญาติสนิทในนบีมูฮัมหมัด 661–680 680
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน ยะซีดที่ 1 อะบู คอลิด ? พระโอรสในมุอาวิยะห์ที่ 1 680–683 683
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน มุอาวิยะห์ที่ 2 อะบู อับดุลราห์มาน ? พระโอรสในยะซีดที่ 1 683–684 ? สละราชสมบัติ (?)
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน มัรวานที่ 1 อะบู อับดุลมาลิก ? โอรสฮะค��มอันเป็นพระญาติในมุอาวิยะห์ที่ 1 684–685 685 ถูกพระชายาปลงพระชนม์
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อับด์ อัล-มาลิก อะบูล วะลีด ? พระโอรสในมัรวานที่ 1 685–705 705
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-วาลิดที่ 1 อบูล อับบาส ? พระโอรสในอับด์ อัล-มาลิก 705–715 715
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน สุไลยมาน อะบู อัยยุบ ? โอรสในอับด์ อัล-มาลิก 715–717 717
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อุมัรที่ 2 อะบู ฮัฟต์สฺ ? โอรสในอับด์ อัล-อาซิซ อันเป็นโอรสในมัรวานที่ 1 717–720 720
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน ยะซีดที่ 2 อะบู คอลิด ? พระโอรสในอับด์ อัล-มาลิก 720–724 724
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน ฮิชาม อบูล วะลีด ? พระโอรสในอับด์ อัล-มาลิก 724–743 743
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-วาลิดที่ 2 อะบูล อับบาส ? พระโอรสในยะซีดที่ 2 743–744 744
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน ยะซีดที่ 3 อะบูล คอลิด ? พระโอรสในอัล-วาลิดที่ 1และชาห์ฟารานด์ พระธิดาในเปรอซที่ 3 744–744 744 ถูกปลงพระชนม์
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อิบรอฮิม อะบู อิชักฮฺ ? โอรสในอัล-วาลีดที่ 1 744–744 744 ถูกปลงพระชนม์
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน มัรวานที่ 2 อะบู อีบดัลมาลิก ? โอรสมูฮัมหมัดอันเป็นโอรสในมัรวานที่ 1 744–750 750 Ruled from Harran in the Jazira. Killed by Saffah

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

[แก้]
แผนที่รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ (c. 850)
พระรูป พระยศ พระนาม กุนยา ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัสซัฟฟาห์ อะบู อับบาส อับดุลเลาะห์ 721 โอรสมูฮัมหมัน อิบน์ อาลี อิบน์ อับดุลลาห์ ผู้เป็นลุงในนบีมูฮัมหมัด 750–754 754
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มันซูร์ อะบู จะฟาร์ อับดุลเลาะห์ 714 อนุชาอัสซัฟฟาห์ 754–775 775
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มะห์ดี อะบู อับดุลเลาห์ มูฮัมหมัด 744/745 โอรสอัล-มันซูร์ 775–785 785
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-หะดี อะบู มูฮัมหมัด โมซา 764 โอรสอัล-มะห์ดี 785–786 786
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-ราษจิด อะบู จะฟาร์ ฮะรูน 763/766 โอรสอัล-มะห์ดี 786–809 809
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-อามิน อะบู อับดุลเลาห์ มูฮัมหมัด 787 โอรสฮะรูน อัล-ราษจิด 809–813 813 อัล-มะมูนปลงพระชนม์
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มะมูน อะบู อับบาส อับดุลเลาะห์ 786 โอรสฮะรูน อัล-ราษจิด 813–833 833
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุตาซิม อะบู อิชักฮฺ มูฮัมหมัด 795 โอรสฮะรูน อัล-ราษจิด 833–842 842
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-วาติก อะบู จะฟาร์ ฮะรูน 816 โอรสอัล-มุตาซิม 842–847 847
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุตาวักกิล อะบู ฟาซล์ ยะฟัร 821 โอรสอัล-มุตาซิม 847–861 861 อัล-มุนตาศิรปลงพระชนม์
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุนตาศิร อะบู จะฟาร์ มูฮัมหมัด 837 โอรสอัล-มุตาวักกิล 861–862 862
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุสตาอิน อะบู อับบาส อะหมัด 836 โอรสในมูฮัมหมัดอันเป็นโอรสในอัล-มุตาซิม 862–866 866 ถูกปลดและปลงพระชนม์ในภายหลัง
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มูตาซ อะบู อับดุลลาห์ ซูไบยร์ 847 โอรสอัล-มูตาวักกิล 866–869 869 ถูกปลดและปลงพระชนม์ในภายหลัง
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มูตาดี อะบู อิชักฮฺ มูฮัมหมัด ? โอรสอัล-วาติก 869–870 870
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มูตามิด อะบู อับบาส อะหมัด 844 โอรสอัล-มูตาวักกิล 870–892 892
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มูตาดิด อะบู อับบาส อะหมัด 854/861 โอรสตาลา อัล-มูวัฟฟัก โอรสอัล-มูตาวักกิล 892–902 902
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุกตาฟี อะบู โมฮัมหมัด อาลี 877/878 โอรสอัล-มูตาดิด 902–908 908
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุกตาดีร์ อะบู ฟาซล์ ยะฟัร 895 โอรสอัล-มูตาดิด 908–929

และ

929–932

929 คาดว่าถูกปลด
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-ฆาฮิร อะบู มันซูร์ มูฮัมหมัด 899 โอรสอัล-มูตาดิด 929

และ

932–934

929 Forced to resign the throne in the face of public protest, later deposed and blinded.
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อะบูล อับบาส อัร ระดี มูฮัมหมัด 907 โอรสอัล-มุกตาดิร 934–940 940 ทรงราชย์เพียงพฤตินัย อำนาจจริงอยู่ในมืออิบน์ ราอิก 936-938
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุตตากี อะบู ยิชัก อิบราฮิม 908 โอรสอัล-มุกตาดิร 940–944 944 ทรงราชย์เพียงพฤตินัย อำนาจจริงอยู่ในมือบัจคาม 940-941, อิบน์ ราอิก 941-942, นาศิร อัล-ดอลา 942-943 & ตูซุน 943-94 ผู้ถอดเขาออกจากตำแหน่งและทำให้พระเนตรบอด
กาหลิบ, อะมีรุลมุอ์มินีน อัล-มุสตักฟี อะบูล ฆอซิม อับดุลเลาะห์ 905 โอรสอัล-มุกตาฟีร์ 944–946 946 ทรงราชย์เพียงพฤตินัย อำนาจจริงอยู่ในมือตูซุน 944-945 & อะบู จะฟาร์ 945-946. ถูกถอดจากตำแหน่งและทำให้ตาบอดโดยมูอิซ อัล-ดอลา

อาณาจักรซามาร์นิด

[แก้]
แผนที่จักรวรรดิซามาร์นิดในยุครุ่งเรืองสุด

For more comprehensive lists of kings and sub-kings of this Era see:

พระรูป พระยศ พระนาม พระนามเดิม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์ซามานิด (819–999)
อะหมัดที่ 1 ? ? 819–864/865 864/5
นาสร์ที่ 1 ? ? 864/865–892 892
Adel อิสมะอิลที่ 1 ? ? 892–907 907
Shaheed อะหมัดที่ 2 ? ? 907–914 914
Saeed นาสร์ที่ 2 ? ? 914–942 943
Hamid นูห์ที่ 1 ? ? 942–954 954
Rashid อับด์ อัล-มาลิกที่ 1 ? ? 954–961 961
Mo'ayyed มันซูร์ที่ 1 ? ? 961–976 976
Radhi นูฮ์ที่ 2 ? ? 976–996 997
Abol Hareth มันซูร์ที่ 2 ? ? 996–999 999
Abol Favares อับด์-อัล-มาลิกที่ 2 ? ? 999 999
Montaser อิสมาอิลที่ 2 ? ? 1000–1005 1005

อาณาจักรซัฟฟาริด

[แก้]
จักรวรรดิซัฟฟาริด
พระรูป พระยศ พระนาม กุนยา ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์ซัฟฟาริด (861–1003)
อีเมียร์ ยากุบ อัส-ซัฟฟัร 840 โอรสอัล-ละอีธ 861–879 879 ประชวรสวรรคต
อีเมียร์ อมีร ? โอรสอัล-ละอีธ 879–901 902 ถูกจับกุมโดยซามานิดส์, ถูกปลงพระชนม์ 20 เมษ���ยน 902 ใน แบกแดด
อีเมียร์ ตาฮิร อะบูหะซัน ? โอรสในมูฮัมหมัด, โอรสในอมีร 901–908 ? ถูกจองจำในแบกแดด
อีเมียร์ อัล-ละอีธ ? โอรสในอาลี, โอรสใน อัล-ละอีธ 909–910 928 สวรรคตด้วยเหตุธรรมชาติขณะถูกจองจำในแบกแดด ใน 928
อีเมียร์ มูฮัมหมัด ? โอรสอาลี, โอรสอัล-ละอีธ 910–911 ? ถูกจองจำในแบกแดด
อีเมียร์ อมีร อะบู ฮาฟ 902 โอรสยากุบ 912–913 ? ถูกล้มล้างโดยซามานิดส์
อีเมียร์ อะหมัด อะบู ยะฟัร 21 มิถุนายน 906 โอรสในมูฮัมหมัด, โอรสในอมีร 923–963 31 มีนาคม 963 ถูกปลงพระชนม์โดยอะบูล-อับบาสและชาวเติร์กกิลมาน
อีเมียร์ คาลาฟ อะบู อะหมัด พฤศจิกายน 937 โอรสอะหมัด อิบน์ มูฮัมหมัด 963–1003 มีนาคม 1009 ถูกล้มล้างโดยกาซนาวิด ใน 1003, สวรรคตขณะลี้ภัยใน 1009

อาณาจักรกูริด

[แก้]
แผนที่อาณาจักรกูริดในยุครุ่งเรือง 1202
พระรูป พระยศ พระนาม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์กูริด (879–1215)
มาลิก อะมีร์ ซูรี ? พระราชบิดาในมูฮัมหมัด อิบน์ ซูรี[16] ?–? ? มาลิกพระองค์แรกแห่งราชวงศ์
มาลิก มูฮัมหมัด อิบน์ ซูรี ? พระราชโอรสในอะมีร์ ซูรี ?–1011 1011 อัตนิวิบาตกรรม
มาลิก อะบู อิบน์ มูฮัมหมัด ? พระราชโอรสในมูฮัมหมัด อิบน์ ซูรี 1011–1035 1035 ถูกชิงราชสมบัติและปลงพระชนม์โดยพระภาคิไนย อับบาส อิบน์ ซิษ
มาลิก อับบาส อิบน์ ซิษ ? 1035–1060 1060 พวกกาซนาวิดถอดจากราชสมบัติและปลงพระชนม์, พระราชโอรสรับราชสมบัติแทนมูฮัมหมัด อิบน์ อับบาส
มาลิก มูฮัมหมัด อิบน์ อับบาส ? พระราชโอรสในอับบาส อิบน์ ซิษ 1060–1080 1080
มาลิก คุบ อัล-ดีน หะซัน ? พระราชโอรสในมูฮัมหมัด อิบน์ อับบาส 1080–1100 1100
มาลิก อิซซ์ อัล-ดีน ฮุสเซน ? พระราชโอรสในคุบ อัล-ดีน หะซัน 1100–1146 1146
มาลิก ซาอิฟ อัล-ดีน ซูรี ? พระราชโอรสในอิซซ์ อัล-ดีน ฮุสเซน 1146–1149 1149
มาลิก บาฮา อัล-ดีน ซามที่ 1 ? พระราชโอรสในอิซซ์ อัล-ดีน ฮุสเซน 1149 1149
มาลิก อาลา อัล-ดีน ฮุสเซน ? พระราชโอรสในอิซซ์ อัล-ดีน ฮุสเซน 1149–1161 1161
มาลิก ซาอีฟ อัล-ดีน มูฮัมหมัด ? พระราชโอรสในอาลา อัล-ดีน ฮุสเซน 1161–1163 1163
สุลต่าน กิยาด อัล-ดีน มูฮัมหมัด 1139 พระราชโอรสในบาฮา อัล-ดีน ซามที่ 1 1163–1202 1202
สุลต่าน มูอิซ อัล-ดีน 1149 พระราชโอรสในบาฮา อัล-ดีน ซามที่ 1 1173–1206 1206
สุลต่าน กิยาด อัล-ดีน มาห์หมุด ? พระราชโอรสใน กิยาด อัล-ดีน มูฮัมหมัด 1206–1212 1212
สุลต่าน บาฮา อัล-ดีน ซามที่ 3 ? พระราชโอรสใน กิยาด อัล-ดีน มูฮัมหมัด 1212–1213 1213
สุลต่าน อาลา อัล-ดีน อัตซิส 1159 พระราชโอรสในอาลา อัล-ดีน ฮุสเซน 1213–1214 1214
สุลต่าน อาลา อัล-ดีน ? พระราชโอรสในชูญา อัล-ดีน มูฮัมหมัด 1214–1215 1215

อาณาจักรบูยิด

[แก้]

อาณาจักรซิยาริด

[แก้]
พระรูป พระยศ พระนาม พระนามเดิม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์ซิยาริด (928–1043)
อโบลฮะยัจ, อีเมียร์ มัรดาวิจ ? โอรสสิญัร 928–934 934
อบูทาเฮร์ วอชม์กีร์ ? โอรสสิญัร 934–967 967
ซาฮีร์ ออด-เดาเลห์ บีโซตุน ? โอรสวอชม์กีร์ 967–976 976
Shams ol-Ma'ali, Abolhasan กอบูส ? โอรสวอชม์กีร์ 976–1012 1012
Falak ol-Ma'ali มานูเชร์ ? โอรสกอบูส 1012–1031 1031
Sharaf ol-Ma'ali อะนูชิวาราน ? โอรสมานูเชร์ 1031–1043 1043
Onsor ol-Ma'ali เกคาวุส ? โอรสเอสกานเดอร์ โอรสในกอบูส ? ?
กิลานชาห์ ? โอรสเคตาวุส ? ?

จักรวรรดิเซลจุก

[แก้]
พระรูป พระยศ พระนามเรียกขาน พระนามเดิม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์เซลจุก (1029–1191)
เบก, สุลต่าน Rukn ad-Dunya wa'd-Din โตกรึลที่ 1 อบู ฏอลิบ โมฮัมหมัด 995 พระราชโอรสในมิคาอิล พระโอรสในเซลจุก 1029–1063 1063
สุลต่าน ʿอะดัด อัด เอาดา อัลป์ อัลสุลาน อบู ชูญาʿ โมฮัมหมัด 1039 พระราชโอรสในชากรี เบก ดาวุดผู้เป็นพระอนุชาใน โตกรึลที่ 1 1063–1072 1072
สุลต่าน ญะลาล อัด-เดาลา วัดดีน มาลิก ชาห์ที่ 1 อะบูล ฟาท ฮะซัน 1055 พระราชโอรสในอัลป์ อัลสุลาน 1072–1092 1092 ถูกปลงพระชนม์
สุลต่าน นาศิร อัด-เดาลา วัดดีน อะบูลฆอซิม มาห์หมุดที่ 1 1086 พระราชโอรสในมาลิก ชาห์ที่ 1 1092–1094 1094
สุลต่าน รุกน์ อัด-ดุนยา วัดดีน อะบู มุซซัฟฟาร์ บัรกิยารัก 1080 พระราชโอรสในมาลิก ชาห์ที่ 1 1094–1105 1105
สุลต่าน Ghiyath ad-Dunya wa'd-Din อบู ชูจามูฮัมหมัดที่ 1 ตาปัร 1082 พระราชโอรสในมาลิก ชาห์ที่ 1 1105–1118 1118
สุลต่าน Muglith ad-Dunya wa'd-Din มาห์หมุดที่ 2 1104 พระราชโอรสในมูฮัมหมัดที่ 1 1118–1131 1131 Dominated by his uncle Sanjar and killed in a rebellion against him.
สุลต่าน Rukn ad-Dunya wa'd-Din อบู ฏอลิบ โตกรึลที่ 2 1109 พระราชโอรสในมูฮัมหมัดที่ 1 1132–1134 1134 Ruled only in Iraq, dominated by his uncle Ahmed Sanjar
สุลต่าน As-Salatin Muʿizz ad-Dunyā wa'd-Dīn อะบู หะรีษ อะเหม็ด ซันญัร 1087 พระราชโอรสในมาลิก ชาห์ที่ 1 1097–1157 1157 Ruled in Khorasan, dominating a series of nephews in Iraq.
สุลต่าน Ghiyath ad-Dawla wa'd-Din อะบูล-ฟาธ มาซอุด 1109 พระราชโอรสในมูฮัมหมัดที่ 1 1134–1152 1152 Ruled over the western portion of the empire. Preoccupations in the east meant Sanjar was unable to dominate him.
สุลต่าน Mugith ad-Dunya wa'd-Din มาลิก ชาห์ที่ 2 1128 พระราชโอรสในมาห์หมุดที่ 2 1152–1153

และ

1160

1153 กาสเบย์ถอดจากราชสมบัติกลับมาครองราชย์ได้เพียง 16 วันก็ถูกชาวอิสฟาฮานถอดจากราชสมบัติ
สุลต่าน Ghiyath ad-Dunya wa'd-Din อะบู ชูจาห์ มูฮัมหมัดที่ 2 1128 พระราชโอรสในมาห์หมุดที่ 2 1153–1160 1160 ปกครองท่ามกลางการโต้แย้งกับพระปิตุลาสุไลยมาน ชาห์ (1153-1155)
สุลต่าน Mu'izz ad-Dunya wa'd-Din อะบูล-หะรีษ สุไลยมาน ชาห์ 1118 พระราชโอรสในมูฮัมหมัดที่ 1 1153–1155

และ

1160–1161

1162 ปกครองท่ามกลางการโต้แย้งกับพระภาคิไนยมูฮัมหมัดที่ 2

Deposed by Inanj, Lord of Reyy and the court officials

สุลต่าน Rukn ad-Dunya wa'd-Din อาษลาน 1134 พระราชโอรสในโตกรึลที่ 2 1161–1176 1176 มีพระราชอำนาจโดยพฤตินัย อำนาจที่แท้จริงอยู่กับอิลเดนิซ (1160-1174) และบุตร ปาห์ลาวัน (1174-1176)
สุลต่าน Rukn ad-Dunya wa'd-Din อะบู ฏอลิบ โตกรึลที่ 3 ? พระราชโอรสในอาษลาน 1176–1194 1194 มีพระราชอำนาจโดยพฤตินัย อำนาจที่แท้จริงอยู่กับปาห์ลาวัน(1176-1186) และกิซิล อาร์สลัน (1186-1188) กิซิล อาร์สลันถอดจากราชสมบัติในค.ศ. 1191

ถูกปลงพระชนม์โดยควาราสม์ ชาห์ เตกิช

สุลต่าน ซันญัรที่ 2 ? พระราชโอรสในสุไลยมาน ชาห์ 1189–1191 1191 มีพระราชอำนาจโดยพฤตินัย อำนาจที่แท้จริงอยู่กับกิซิล อาร์สลาน (1189-1191) กิซิล อาร์สลันถอดจากราชสมบัติในค.ศ. 1191
เอลดิกูซิดส์ (1191)
สุลต่าน กิซิล อาร์สลาน ? พระราชโอรสในอิลเดนิส 1191 1191 ประกาศตนเป็นสุลต่านและสิ้นพระชนม์ก่อนราชาภิเษกไม่กี่ชั่วโมง

จักรวรรดิควารามาสม์

[แก้]
แผนที่จักรวรรดิควราสม์

จักรวรรดิสถาปนาจากควาเรซม์, ครอบคลุมในบางส่วนของอิหร่านและประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียกลาง

ภาพ พระยศ พระนามเรียกขาน พระนามเดิม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ราชวงศ์ควาราสเมียน (1153–1220)
สุลต่าน Ala ad-Dunya wa ad-Din Abul-Muzaffar อัทซิทซ์ 1097/1105 โอรสมูฮัมหมัดที่ 1 แห่งควาเรซม์ 1153–1156 1156 ปกครองควาราสม์ตั้งแต่ 1127
สุลต่าน Taj ad-Dunya wa ad-Din Abul-Fath อิล-อาร์สลาน ? โอรสอัทซิทซ์ 1156–1172 1172
สุลต่าน Ala ad-Dunya wa ad-Din Abul-Muzaffar เตกิช ? โอรสอิล-อาร์สลาน 1172–1200 1200 ปฏิปักษ์กับซุลต่าน ชาห์
ชาห์ Ala ad-Dunya wa ad-Din Abul-Fath มูฮัมหมัด ซันชาร์ ? โอรส เตกิช 1200–1220 1220 Eliminated by the Mongols
ญะลาล อดดีน, สุลต่าน Jalal ad-Dunya wa ad-Din Abul-Muzaffar มิงบูรนู ? โอรสมูฮัมหมัด 1220–1231 1231 Reign largely guerilla warfare against the Mongol conquerors

จักรวรรดิมองโกล

[แก้]
จักรวรรดิมองโกลในยุคที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ที่สุด
พระรูป พระยศ พระนามเรียกขาน พระนามเดิม ประสูติ ความสัมพันธ์ รัชกาล สวรรคต หมายเหตุ
ข่าน เจงกิส เตมูจิน 1162 พระโอรสในเยซูไก 1220–1227 1227 ปกครองมองโกลตั้งแต่ ค.ศ. 1206
ข่าน โตลุย 1192 พระราชโอรสองค์เล็กในเจงกิสข่าน 25 สิงหาคม 1227 – 13 กันยายน 1229 13 กันยายน 1229 สำเร็จราชการ
ข่าน โอเกได แม่แบบ:ราว 1186 พระราชโอรสองค์ที่ 3 ในเจงกิสข่าน 13 กันยายน 1229 – 11 ธันวาคม 1241 1232
คาตุน โตเรเกน ? พระชายาในโอเกไดข่าน 1242 – มีนาคม 1246 ? สำเร็จราชการ
ข่าน กูยุค แม่แบบ:ราว 1206 พระราชโอรสในโอเกไดข่าน กับ พระนางโตเราเกน 1246–1248 1248
คาตุน โอกุล ไคมิช ? พระชายาในกูยุคข่าน 1248–1251 1251 สำเร็จราชการ
ข่าน มองเคอ 10 มกราคม 1209 พระราชโอรสในโตลุยข่าน 1 กรกฎาคม 1251 – 11 สิงหาคม 1259 11 สิงหาคม 1259

จักรวรรดิอิลข่าน

[แก้]

จักรวรรดิติมูร์

[แก้]

เปอร์เซียสมัยใหม่

[แก้]

ราชวงศ์ซาฟาวิด

[แก้]
พระนาม พ���ะนามอื่น พระรูป อิสสริยยศ ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ความสัมพันธ์ หมายเหตุ
ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์(1501–1722)
ชาห์อิสมาอิลที่ 1 แห่งเปอร์เซีย ชาห์, สุลต่าน 1487–1524 7 พฤศจิกายน 1502 23 พฤษภาคม 1524 พระโอรสของ ชาห์เฮเดียร์
ชาห์ทาห์มาสพ์ที่ 1 แห่งเปอร์เซีย ชาห์, ชาห์ฮิบอีกีรัน, สุลต่าน 1514–1576 23 พฤษภาคม 1525 25 พฤษภาคม 1576 พระโอรสของ ชาห์อิสมาอิลที่ 1 แห่งเปอร์เซีย
ชาห์อิสมาอิลที่ 2 แห่งเปอร์เซีย ชาห์ 1537–1577 25 พฤษภาคม 1576 24 พฤศจิกายน 1577 พระโอรสของ ชาห์ทาห์มาสพ์ที่ 1 แห่งเปอร์เซีย วางยาพิษ (?)
ชาห์โมฮัมหมัด โคดาบันดา โกดาบันเดห์, ชารีฟ, โซลต่าน 1532–1596 25 พฤษภาคม 1576 1 ตุลาคม 1587 พระโอรสของ ชาห์ทาห์มาสพ์ที่ 1 แห่งเปอร์เซีย สละราชสมบัติ
ชาห์อับบาสที่ 1 แห่งเปอร์เซีย ชาห์ฮันชาห์, สุลต่าน, , มหาราช 1571–1629 1 ตุลาคม 1587 19 กุมภาพันธ์ 1629 พระโอรสของ ชาห์โมฮัมหมัด โคดาบันดา
ชาห์ซาฟีแห่งเปอร์เซีย ซัม เมียร์ซา ชาห์, เมียร์ซา 1611–1642 19 กุมภาพันธ์ 1629 12 พฤษภาคม 1642 พระโอรสของ ชาห์อับบาสที่ 1 แห่งเปอร์เซีย
ชาห์อับบาสที่ 2 แห่งเปอร์เซีย ชาห์ 1632–1666 12 พฤษภาคม 1642 26 ตุลาคม 1666 พระโอรสของ ชาห์ซาฟีแห่งเปอร์เซีย
ชาห์สุไลยมานที่ 1 แห่งเปอร์เซีย ซาฟี เมียร์ซา ชาห์, ฮาเคมโอลโฮคามา 1645–1694 26 ตุลาคม 1666 29 กรกฎาคม 1694 พระโอรสของ ชาห์อับบาสที่ 2 แห่งเปอร์เซีย
สุลต่านฮัสซัน ชาห์, สุลต่าน, ชาห์โอฮาเคม 1668–1726 29 กรกฎาคม 1694 11 กันยายน 1722 พระโอรสของ ชาห์สุไลยมานที่ 1 แห่งเปอร์เซีย สละราชสมบัติให้ มาห์หมัด โฮทากิ

กบฏอัฟกัน

[แก้]
พระนาม พระนามอื่น พระรูป อิสสริยยศ ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ความสัมพันธ์ หมายเหตุ
ราชวงศ์โฮตากี(1722–1725)
มาห์หมัด โฮทากิ ชาห์ 1694–1725 1722 1725 พระโอรสของไมร์เวส โฮทากิ สละราชสมบัติให้ ชาห์ทาห์มาสพ์ที่ 2 แห่งเปอร์เซีย
อัชราฟ โฮทากิ ชาห์ ?–1730 22 เมษายน 1725 5 ตุลาคม 1729 พระญาติของมาห์หมัด โฮทากิ เป็นปรปักษ์กับ ชาห์ทาห์มาสป์ที่ 2 เสียอำนาจในเปอร์เซียจาก ยุทธการที่ดัมกาน

ราชวงศ์ซาฟาวิด (ฟื้นฟู)

[แก้]
พระนาม พระนามอื่น พระรูป อิสสริยยศ ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ความสัมพันธ์ หมายเหตุ
ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์(1722–1732)
ชาห์ทาห์มาสพ์ที่ 2 แห่งเปอร์เซีย ชาห์ 1704–1740 11 กันยายน 1722 16 เมษายน 1732 พระโอรสของ สุลต่านฮัสซัน นาเดอร์ ชาห์ถอดจากราชสมบัติ
ชาห์อับบาสที่ 3 แห่งเปอร์เซีย ชาห์ 1730–1739 16 เมษายน 1732 22 มกราคม 1736 พระโอรสของชาห์ทาห์มาสพ์ที่ 2 แห่งเปอร์เซีย อยู่ภายใต้นาเดอร์ ชาห์. ถูกถอดจากราชสมัติและปลงพระชนม์โดย นาเดอร์ ชาห์

ราชวงศ์อัฟชาริด (1736–1796)

[แก้]
พระนาม พระนามอื่น พระรูป อิสสริยยศ ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ความสัมพันธ์ หมายเหตุ
ราชวงศ์อัฟชาริด[17] (1736–1796)
นาเดอร์ ชาห์ นาดัร โคลี ข่าน ชาห์, สุลต่าน, Hakem-ol Hokama, Hazrat-e Ashraf 1698–1747 22 มกราคม 1736 19 มิถุนายน 1747 โอรสในอิหม่าม โคลี เบก อัฟชาร์ ก่อนครองราชย์มีฐานะเป็นทาห์มาสป์ โคลี ข่าน ถูกปลงพระชนม์
อาดิล ชาห์ อาลี โคลี เบก ชาห์ 1719/20–1749 19 มิถุนายน 1747 29 กรกฎาคม 1748 พระโอรสในโมฮัมหมัด เอบราฮิม ข่าน พระอนุชาในนาเดอร์ ชาห์ ถูกถอดจากราชสมบัติและปลงพระชนม์โดยเอบราฮิม
เอบราฮิม อัฟชาร์ โมฮัมหมัด อาลี เบก ชาห์ 1724–1749 29 กรกฎาคม 1748 3 กันยายน 1748 พระโอรสในโมฮัมหมัด เอบราฮิม ข่าน พระอนุชาในนาเดอร์ ชาห์ ถูกถอดจากราชสมบัติและปลงพระชนม์โดยชารุก อัฟชาร์
ชารุก อัฟชาร์ ชาห์ 1734–1796 3 กันยายน 1748 1749 โอรสในเรซา โคลี มีร์ซา อันเป็นพระราชโอรสใน นาเดอร์ชาห์ พระชนนีของพระองค์คือฟาเตมะฮ์ โซลตาน เบกุม อันเป็นพระราชธิดาในสุลต่านฮุสเซน ซาฟาวี Deposed & blinded by Suleiman II (1749), ฟื้นฟู (1750)
ภายใต้ราชวงศ์ซาฟาวิด[18] (1749-1750)
สุไลยมานที่ 2 Mir Sayyed Mohammad Marashi ชาห์ ?-? 1749 1750 ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ในราชวงศ์ซาฟาวิด Removed and blinded
ราชวงศ์อัฟชาริด (ฟื้นฟู) [19] (1750-1796)
ชารุก อัฟชาร์ ชาห์ 1734–1796 1750 1796 โอรสในเรซา โคลี มีร์ซา อันเป็นพระราชโอรสใน นาเดอร์ชาห์ พระชนนีของพระองค์คือฟาเตมะฮ์ โซลตาน เบกุม อันเป็นพระราชธิดาในสุลต่านฮุสเซน ซาฟาวี Deposed & blinded by Suleiman II (1749), ฟื้นฟู (1750)

ราชวงศ์ซานด์

[แก้]
พระนาม พระนามอื่น พระรูป อิสสริยยศ ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ความสัมพันธ์ หมายเหตุ
ราชวงศ์ซานด์[20] (1751–1794)
กาลิม ข่าน โมฮัมหมัด การิม ข่าน 1705–1779 1751 6 มีนาคม 1779 โอรสในอินัค ข่าน
โมฮัมหมัด อาลี ข่าน ข่าน 1760–1779 6 มีนาคม 1779 19 มิถุนายน 1779 โอรสใน กาลิม ข่าน
อาโบ ฟาธ ข่าน ข่าน 1755–1787 19 มิถุนายน 1779 22 สิงหาคม 1779 โอรสใน กาลิม ข่าน
ซากี ข่าน ?–22 August 1779 22 สิงหาคม 1779 22 สิงหาคม 1779 พระโอรสในบูดัคข่านกับเบย์ อากา
ซาดิก ข่าน ซานด์ โมฮัมหมัด ซาเดก ข่าน ?–1782 22 สิงหาคม 1779 14 มีนาคม 1781 พระโอรสในอินัคข่านกับเบย์ อากา
อาลี มูรัต ข่าน ข่าน 1720–1785 14 มีนาคม 1781 11 กุมภาพันธ์ 1785 พระโอรสในอัลลาห์ โมราด (เกฏัส) ข่าน ซาอุด ฮาศาเรห์
จะฟาร์ ข่าน ข่าน ?–1789 18 กุมภาพันธ์ 1785 23 มกราคม 1789 พระราชโอรสใน ซาดิก ข่าน ซานด์
ซัยยิด มูรัต ข่าน ข่าน ?–1789 23 มกราคม 1789 10 พฤษภาคม 1789 พระโอรสในโฆดา โมราด ข่าน ซานด์ ฮาซาเรห์
ลอท อาลี ข่าน ข่าน 1769–1794 23 มกราคม 1789 20 มีนาคม 1794 พระราชโอรสใน จะฟาร์ ข่าน ถูกถอดจากราชสมบัติและปลงพระชนม์โดย พระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร

จักรวรรดิเปอร์เซีย

[แก้]

ราชวงศ์กอญัร

[แก้]
พระนาม พระนามอื่น พระรูป อิสสริยยศ ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ความสัมพันธ์ หมายเหตุ
ราชวงศ์กอญัร(1785–1925)
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร อักฮา โมฮัมเหม็ด ข่าน ข่าน, ชาห์, คากัน 1742–1797 1789 17 มิถุนายน 1797 พระโอรสของพระเจ้าโมฮัมเหม็ด ฮัสซัน ข่าน กอญัร ถูกปลงพระชนม์
พระเจ้าชาห์ ฟาตห์ แอลี ชาห์ กอญัร บาบา ข่าน ชาห์, คากาน, โซลตาเน ซาเน็บ การัน 1772–1834 17 มิถุนายน 1797 23 ตุลาคม 1834 พระภาติยะใน พระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ชาห์ กอญัร ชาห์, คากาน 1808–1848 23 ตุลาคม 1834 5 กันยายน 1848 พระนัดดาใน พระเจ้าชาห์ฟาธ อาลี ชาห์ กอญัร
สมเด็จพระบรมราชินีนาถมอห์ด-เอ-โอเลีย มอห์ด-เอ-โอเลีย 1814–1888 5 กันยายน 1848 5 ตุลาคม 1848 พระมเหสีใน พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร สำเร็จราชการ
พระเจ้าชาห์ นัสเซอร์ อัลดีน ชาห์ กอญัร ชาห์, คากาน, โซลตาเน ซาเน็บ การัน 1831–1896 5 ตุลสคม 1848 1 พฤษภาคม 1896 พระโอรสของ พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร และ สมเด็จพระบรมราชินีนาถมอห์ด-เอ-โอเลีย ถูกปลงพระชนม์
พระเจ้าชาห์ โมซัฟฟาร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร ชาห์, คากาน 1853–1907 1 พฤษภาคม 1896 3 มกราคม 1907 พระโอรสของ พระเจ้าชาห์ นัสเซอร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร
พระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด แอลี ชาห์ กอญัร ชาห์ 1872–1925 3 มกราคม 1907 16 กรกฎาคม 1909 พระโอรสของ พระเจ้าชาห์ นัสเซอร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร สละราชสมบัติ
พระเจ้าชาห์อะห์หมัด ชาห์ กอญัร ชาห์ 1898–1930 16 กรกฎาคม 1909 15 ธันวาคม 1925 พระโอรสของ พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด อาลี ชาห์ กอญัร ถูกรัฐประหารโดยพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี

จักรวรรดิอิหร่าน

[แก้]

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

[แก้]
พระนาม พระนามอื่น พระรูป อิสสริยยศ ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล ความสัมพันธ์ หมายเหตุ
ราชวงศ์ปาห์ลาวี (1925–1979)
พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ชาห์ 1878–1944 15 ธันวาคม 1925 16 กันยายน 1941 พระโอรสของพระเจ้าอับบัส อลี สละราชสมบัติ
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์ 1919–1980 16 กันยายน 1941 11 กุมภาพันธ์ 1979 พระโอรสของพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี สละราชบัลลังก์ในการปฏิวัติอิสลาม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. G. Posener, La première domination perse en Égypte, Cairo, 1936, pp. 30-36.
  2. Jürgen von Beckerath, Handbuch der ägyptischen Königsnamen (= Münchner ägyptologische Studien, vol 46), Mainz am Rhein: Verlag Philipp von Zabern, 1999. ISBN 3-8053-2310-7, pp. 220–21.
  3. "Ahasuerus". JewishEncyclopedia.com. สืบค้นเมื่อ 2014-07-25.
  4. 4.0 4.1 Assar, 2004.Assar, 2005. Assar, "Moses of Choren & the Early Parthian Chronology", 2006.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 Qashqai, H., "The successors of Mithridates II"
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 Assar, G.R.F., "A Revised Parthian Chronology of the Period 165-91 BC" Qashqai, H., "The successors of Mithridates II"
  7. Assar, G.R.F., "A Revised Parthian Chronology of the Period 165-91 BC"
  8. Josephus Flavius, Antiquities of the Jews, Book XVI, Ch.8.4
  9. Tacitus, The Annals, 11.10
  10. See: Unknown King (III) (ป. AD 140)
  11. See: Tiridates III (ป. AD 224 – 228?)
  12. In Persian it means "King of Kings"
  13. "The great king of Armenians"
  14. "The penetrator of the shoulders"
  15. "Queen"
  16. In arabic, ibn means son of. so muhammad ibn suri means: muhammad son of suri (so suri is his father)
  17. The Cambridge History of Iran, vol. 7, 1991, p. 960.
  18. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-19. สืบค้นเมื่อ 2018-04-07.
  19. Lang, David Marshall (1957), The Last Years of the Georgian Monarchy, 1658-1832, p. 148. Columbia University Press
  20. The Cambridge History of Iran, vol. 7, 1991, p. 961.