จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
หน้าตา
| |||||||||||||||||||||||||||||
1 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 172,019 | ||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 74.04% | ||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||
ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
|
จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
[แก้]แบ่งตามพรรค
[แก้]พรรค | จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง | ที่นั่ง | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
จน. | % | จน. | +/– | % | |||
อนาคตใหม่ | 1 | 36,744 | 31.17% | 1 | 1 | 100.00% | |
ประชาธิปัตย์ | 1 | 30,642 | 25.99% | 0 | 1 | 0.00% | |
พลังประชารัฐ | 1 | 23,417 | 19.86% | 0 | 0.00% | ||
อื่น ๆ | 22 | 27,076 | 22.98% | 0 | 0.00% | ||
ผลรวม | 25 | 117,879 | 100.00% | 1 | 100.00% |
แบ่งตามเขต
[แก้]เขตเลือกตั้ง | อนาคตใหม่ | ประชาธิปัตย์ | พลังประชารัฐ | อื่น ๆ | ผลรวม | ผลการเลือกตั้ง | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คะแนนเสียง | % | คะแนนเสียง | % | คะแนนเสียง | % | คะแนนเสียง | % | คะแนนเสียง | % | ||
เขต 1 | 36,744 | 31.17% | 30,642 | 25.99% | 23,417 | 19.86% | 27,076 | 22.98% | 117,879 | 100.00% | อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง |
ผลรวม | 36,744 | 31.17% | 30,642 | 25.99% | 23,417 | 19.86% | 27,076 | 22.98% | 117,879 | 100.00% |
เขตเลือกตั้ง
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขต 1
[แก้]เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดตราดทั้งจังหวัด
ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายศักดินัย นุ่มหนู ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตราด เขต 1 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
อนาคตใหม่ | ศักดินัย นุ่มหนู (9) | 36,744 | 31.17 | ||
ประชาธิปัตย์ | ธีระ สลักเพชร (3)* | 30,642 | 25.99 | ||
พลังประชารัฐ | วุฒิกร โลหะคุปต์ (4) | 23,417 | 19.86 | ||
ภูมิใจไทย | วศิน พงษ์ศิริ (7) | 6,310 | 5.35 | ||
เสรีรวมไทย | คมศักดิ์ ศักดิ์เพชรพลอย (12) | 5,667 | 4.81 | ||
รวมพลังประชาชาติไทย | กิตติธัช ไชยอรรถ (13) | 2,861 | 2.43 | ||
เพื่อชาติ | พัชรี มนัสสนิท (2) | 2,786 | 2.36 | ||
เศรษฐกิจใหม่ | สุภาพ นิยม (19) | 1,997 | 1.69 | ||
ชาติพัฒนา | ไกรสีห์ รัตนเศียร (1) | 1,433 | 1.22 | ||
ประชาชาติ | พลตำรวจตรี สุรศักดิ์ รมยานนท์ (10) | 1,409 | 1.20 | ||
ประชาธรรมไทย | สาวิตรี สืบสอน (21) | 543 | 0.46 | ||
ประชานิยม | ไสว ชัยบุญเรือง (5) | 513 | 0.44 | ||
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย | อำพร แพทย์ศาสตร์ (15) | 498 | 0.42 | ||
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย | ลัดดา แขวงอุบล (23) | 439 | 0.37 | ||
ไทยศรีวิไลย์ | กริ่ม หาญพัฒน์ (14) | 436 | 0.37 | ||
ทางเลือกใหม่ | เอกอรุณ มีวรรณ (11) | 400 | 0.34 | ||
พลังท้องถิ่นไท | สัมภาษณ์ อัศวภูมิ (6) | 324 | 0.27 | ||
พลังสังคม | ไพรัตน์ เกษโกวิท (24) | 275 | 0.23 | ||
ครูไทยเพื่อประชาชน | ธัญวรินทร์ แดงอาจ (22) | 256 | 0.22 | ||
ชาติไทยพัฒนา | วีระชัย จูห้อง (17) | 235 | 0.20 | ||
พลังชาติไทย | สุวรรณ สงวนหงษ์ (18) | 225 | 0.19 | ||
ประชาภิวัฒน์ | รัฐ อภิบาลศรี (16) | 189 | 0.16 | ||
ประชากรไทย | ธนินท์ธร เกษรมาลา (20) | 148 | 0.13 | ||
ไทรักธรรม | ชูเกียรติ บางขุนทด (25) | 132 | 0.11 | ||
ไทยรักษาชาติ | ทินวัฒน์ เจียมอุย (8)† | – | – | – | |
ผลรวม | 117,879 | 100.00 | — | ||
บัตรดี | 117,879 | 92.56 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 2,428 | 1.91 | – | ||
บัตรเสีย | 7,045 | 5.53 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 127,357 | 74.04 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 172,749 | 100.00 | — | ||
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์ |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
- จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566
อ้างอิง
[แก้]- ↑ พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.
- ↑ ""พิธา" นำทีมเพื่อนอนาคตใหม่ ย้ายเข้า #พรรคก้าวไกล ทำแฮชแท็กพุ่งอันดับ 1". www.thairath.co.th. 2020-03-08.