จักรพรรดินีซูอิโกะ
หน้าตา
จักรพรรดินีซูอิโกะ 推古天皇 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พระราชินีผู้ยิ่งใหญ่แห่งยามาโตะ | |||||
ภาพวาดซูอิโกะโดยโทซะ มิตสึโยชิ, ค.ศ. 1726 | |||||
จักรพรรดินีนาถเเห่งญี่ปุ่น | |||||
ครองราชย์ | 15 มกราคม ค.ศ. 593 – 15 เม��ายน ค.ศ. 628 (ปฏิทินกริกอเรียน) หรือ 8 ธันวาคม ค.ศ. 592 – 7 มีนาคม ค.ศ. 628 (ปฏิทินจันทรคติ) | ||||
ก่อนหน้า | ซูชุง | ||||
ถัดไป | โจเม | ||||
ผู้สำเร็จราชการ | เจ้าชายโชโตกุ (593–621) โซงะ โนะ อูมาโกะ โซงะ โนะ เอมิชิ | ||||
จักรพรรดินีญี่ปุ่น | |||||
ดำรงพระยศ | ค.ศ. 576 – 585 | ||||
พระราชสมภพ | 3 มกราคม ค.ศ. 554 นูกาตาเบะ (額田部) | ||||
สวรรคต | 15 เมษายน ค.ศ. 628 | (74 ปี)||||
ฝังพระศพ | ชินางะ โนะ ยามาดะ โนะ มิซาซางิ (磯長山田陵) | ||||
คู่อภิเษก | จักรพรรดิบิดัตสึ | ||||
พระราชบุตร |
| ||||
| |||||
ราชสกุล | ราชวงศ์ญี่ปุ่น | ||||
พระราชบิดา | จักรพรรดิคิมเม | ||||
พระราชมารดา | โซงะ โนะ คิตาชิฮิเมะ |
จักรพรรดินีซูอิโกะ (ญี่ปุ่น: 推古天皇; โรมาจิ: Suiko-tennō; ค.ศ. 554 – 15 เมษายน ค.ศ. 628) เป็นพระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นองค์ที่ 33[1] และเป็นจักรพรรดินีนาถองค์แรก ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์แต่โบราณ[2]
พระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ ค.ศ. 593 จนสวรรคตเมื่อ ค.ศ. 628[3]
เรื่องราวตามธรรมเนียม
[แก้]ก่อนที่พระนางขึ้นรครองาชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระนามส่วนพระองค์ (อิมินะ)[4] ของพระนางคือ มิเกกาชิยะ-ฮิเมะ-โนะ-มิโกโตะ[5] หรือโทโยมิเกะ คาชิกิยะ ฮิเมะ โนะ มิโกโตะ[6]
จักรพรรดินีซูอิโกะมีพระนามหลายแบบ เช่น เจ้าหญิงนูกาตาเบะ และโทโยมิเกะ คาชิกิยะ (น่าจะพระราชทานหลังสวรรคต) พระนางเป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิคิมเมกับโซงะ โนะ คิตาชิฮิเมะ พระธิดาในโซงะ โนะ อินาเมะ ซูอิโกะเป็นพระกนิษฐภคินีในจักรพรรดิโยเม
พระราชประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Imperial Household Agency (Kunaichō): She introduced Buddhism in Japan and built many Buddhist temples, but she held the balance between Buddhism and Shintoism. Under her rule, Japan was the superpower in Asia, Silla paid tribute to Japan. She also reorganized the legal system and laws, bringing a peaceful era in the country. She is credited with building Japan's infrastructure, economy and culture. Empress Suiko was noted for her wisdom as a ruler. 推古天皇 (33)
- ↑ Ponsonby-Fane, Richard. (1959). The Imperial House of Japan, p. 48.
- ↑ Brown, Delmer et al. (1979). Gukanshō, pp. 263–264; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki, pp. 126–129; Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du Japon, pp. 39–42., p. 39, ที่กูเกิล หนังสือ
- ↑ Brown, pp. 264; prior to Emperor Jomei, the personal names of the emperors (their iminia) were very long and people did not generally use them. The number of characters in each name diminished after Jomei's reign.
- ↑ Varley, p. 126.
- ↑ Ashton, William. (2005). Nihongi, p. 95 n.2.
ข้อมูล
[แก้]- Aston, William George. (1896). Nihongi: Chronicles of Japan from the Earliest Times to A.D. 697. London: Kegan Paul, Trench, Trubner. OCLC 448337491
- Brown, Delmer M. and Ichirō Ishida, eds. (1979). Gukanshō: The Future and the Past. Berkeley: University of California Press. ISBN 978-0-520-03460-0; OCLC 251325323
- Hammer, Joshua. (2006). Yokohama Burning: The Deadly 1923 Earthquake and Fire that Helped Forge the Path to World War II. New York: Simon & Schuster. ISBN 978-0-7432-6465-5
- Nussbaum, Louis-Frédéric and Käthe Roth. (2005). Japan encyclopedia. Cambridge: Harvard University Press. ISBN 978-0-674-01753-5; OCLC 58053128
- Ponsonby-Fane, Richard Arthur Brabazon. (1959). The Imperial House of Japan. Kyoto: Ponsonby Memorial Society. OCLC 194887
- Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Ōdai Ichiran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691
- Varley, H. Paul. (1980). A Chronicle of Gods and Sovereigns: Jinnō Shōtōki of Kitabatake Chikafusa. New York: Columbia University Press. ISBN 9780231049405; OCLC 6042764
ก่อนหน้า | จักรพรรดินีซูอิโกะ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
จักรพรรดิซูชุง | จักรพรรดินีญี่ปุ่น (จักรพรรดิโจเม) |
จักรพรรดิโจเม |