คาร์บามาเซพีน
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Tegretol |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a682237 |
ข้อมูลทะเบียนยา | |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | รับประทาน |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | ~100%[1] |
การจับกับโปรตีน | 70-80%[1] |
การเปลี่ยนแปลงยา | Hepatic—by CYP3A4, to active epoxide form (carbamazepine-10,11 epoxide)[1] |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 36 ชั่วโมง (เม็ดเดียว)[1] |
การขับออก | ปัสสาวะ (72%), อุจจาระ (28%)[1] |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.005.512 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C15H12N2O |
มวลต่อโมล | 236.269 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
คาร์บามาเซพีน (Carbamazepine) หรือชื่อทางการค้าคือ เทเกรทอล (Tegretol) เป็นยาสามัญใช้สำหรับรักษาโรคลมชักและอาการปวดเส้นประสาท[2] แต่ไม่เหมาะสำหรับใช้รักษาโรคชักเหม่อและกล้ามเนื้อกระตุกรัว นอกจากนี้ ยังถูกใช้ควบคู่กับยาอื่นๆในการรักษาโรคจิตเภทและเป็นยารองในการรักษาโรคอารมณ์สองขั้ว[2] ยาคาร์บามาเซพีนมีการทำงานเหมือนกับยาเฟนิโทอินและวาลโปรเอท[3][4]
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาคาร์บามาเซพีนได้แก่คลื่นไส้และง่วง ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงได้แก่ เป็นผื่นคัน, ไขกระดูกลดลง, คิดฆ่าตัวตาย หรือเกิดภาวะสับสน ยาชนิดนี้ไม่เหมาะที่จะใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติโรคเกี่ยวกับไขสันหลัง สตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรควรหลีกเลี่ยงยาชนิดนี้ อย่างไรก็ตาม สตรีมีครรภ์ที่เป็นโรคชักเหม่อไม่ควรหยุดใช้ยาชนิดนี้โดยทันที ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับไตหรือตับควรใช้อย่างระมัดระวังภายใต้คำแนะนำของแพทย์ ยาชนิดนี้ยังทำให้การได้ยินเสียงผิดเพี้ยนไปจากเดิมได้ด้วย
คาร์บามาเซพีนถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1953 โดยนักเคมีชาวสวิตนามว่า วัลเทอร์ ชลินเดอร์[5] และเริ่มวางจำหน่ายในปี ค.ศ.1962[6] ถือเป็นยาสามัญที่มีราคาไม่แพงมาก[7] และยังได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Carbamazepine Drug Label".
- ↑ 2.0 2.1 "Carbamazepine". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ Mar 2015.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Nolan, SJ; Marson, AG; Weston, J; Tudur Smith, C (28 April 2016). "Phenytoin versus valproate monotherapy for partial onset seizures and generalised onset tonic-clonic seizures: an individual participant data review". The Cochrane database of systematic reviews. 4: CD001769. doi:10.1002/14651858.CD001769.pub3. PMID 27123830.
- ↑ Nolan, SJ; Marson, AG; Weston, J; Tudur Smith, C (14 August 2015). "Carbamazepine versus phenytoin monotherapy for epilepsy: an individual participant data review". The Cochrane database of systematic reviews (8): CD001911. doi:10.1002/14651858.CD001911.pub2. PMID 26275105.
- ↑ Smith, Howard S. (2009). Current therapy in pain. Philadelphia: Saunders/Elsevier. p. 460. ISBN 9781416048367.
- ↑ Moshé, Solomon (2009). The treatment of epilepsy (3 ed.). Chichester, UK: Wiley-Blackwell. p. xxix. ISBN 9781444316674.
- ↑ Principles and practice of stereotactic radiosurgery. New York: Springer. 2008. p. 536. ISBN 9780387710709.
- ↑ "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.