ยก
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ยก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | yók |
ราชบัณฑิตยสภา | yok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /jok̚˦˥/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɲɤkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຍົກ (ย็ก), ภาษาไทลื้อ ᦷᦍᧅ (โยก), ภาษาไทใหญ่ ယုၵ်ႉ (ยุ๎ก), ภาษาอาหม 𑜊𑜤𑜀𑜫 (ยุก์),ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง yoj, ภาษาจ้วง yoj
คำกริยา
แก้ไขยก (คำอาการนาม การยก)
- เอาขึ้นให้สูงจากที่เดิมทั้งโดยตรงและโดยปริยาย
- เคลื่อนไป, พากันไป
- ยกทัพ
- ยกพวก
- งดเว้น, เพิกถอน
- ยกโทษ
- ยกภาษี
- ยกคำสั่ง
- มอบ
- ยกลูกสาวให้
- ยกสมบัติให้
- อ้าง
- ยกตัวอย่าง
- พ��กไว้ก่อน, ผลัดไป[1]
- ยกไว้ก่อน
- นำไปทำต่อคราวหน้า[1]
- ขอยกไปเล่าต่อคราวหน้า
- ทำได้พิเศษมากกว่าคนอื่น[1]
- เรื่องพูดชักจูงคน ยกไว้ให้เขาเลย
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขคำนาม
แก้ไขยก
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำนาม
แก้ไขยก
- มาตราวัดไม้ คือ หน้ากว้าง 1 ศอก ยาว 16 วา หนา 1 นิ้ว เป็น 1 ยก ตามอัตราไม้นิ้ว
- กำหนดเวลาระยะหนึ่ง ๆ หรือจำนวนหนึ่ง
- มวยยกหนึ่งกำหนด 23 นาที
- เฆี่ยนยกหนึ่งกำหนด 30 ที
- กระดาษ แผ่นหนึ่งขนาด 31 × 42 นิ้ว ถ้าพิมพ์ได้ 4 หน้า เรียกว่า ขนาด 4 หน้ายก ถ้าพิมพ์ได้ 8 หน้า 16 หน้า หรือ 32 หน้า เรียกว่า ขนาด 8 หน้ายก 16 หน้ายก หรือ 32 หน้ายก
- กำหนดเวลาที่พระรูปหนึ่ง ๆ เทศน์ 3 วันบ้าง 7 วันบ้าง เรียกว่า ยกหนึ่ง เป็นต้น
อ้างอิง
แก้ไข- ↑ 1.0 1.1 1.2 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 3 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต, 2554. หน้า 88.