ดูเพิ่ม: เอ้า

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʔawᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เอา, ภาษาลาว ເອົາ (เอ็า), ภาษาคำเมือง ᩐᩣ (อูา), ภาษาเขิน ᩐᩢᩣ (อูัา), ภาษาไทลื้อ ᦀᧁ (เอา), ภาษาไทดำ ꪹꪮꪱ (เอา), ภาษาไทใหญ่ ဢဝ် (อว), ภาษาอาหม 𑜒𑜧 (อว์) หรือ 𑜒𑜧𑜈𑜫 (อว์ว์) หรือ 𑜒𑜨𑜧 (ออ̂ว์), ภาษาจ้วง aeu

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เอา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงao
ราชบัณฑิตยสภาao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔaw˧/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

เอา (คำอาการนาม การเอา)

  1. ยึด
    เอาไว้อยู่
  2. รับไว้
    เขาให้ก็เอา
  3. พา, นำ
    เอาตัวมา
  4. ต้องการ
    ทำเอาชื่อ
    ทำงานเอาหน้า
  5. ถือเป็นสำคัญ
    เจรจาเอาถ้อยคำ
    เอาพี่เอาน้อง
  6. (ภาษาปาก) คำใช้แทนกริยาอื่น ๆ บางคำได้

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

เอา

  1. เมื่อใช้ลงท้ายกริยา เป็นการเน้นกริยาแสดงถึงการตั้งหน้าตั้งตาทำต่อเนื่องกัน
    กินเอา ๆ

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

เอา (คำอาการนาม ก๋ารเอา หรือ ก๋านเอา)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩐᩣ (อูา)

ภาษาชอง

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *ʔaawʔ

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

เอา

  1. เสื้อ