阝
หน้าตา
|
|
ภาษาร่วม
[แก้ไข]อักษรจีน
[แก้ไข]阝 (รากคังซีที่ 170, 阜+0, 3 ขีด ในภาษาจีนตัวเต็ม ภาษาญี่ปุ่น และภาษาเกาหลี, 2 ขีด ในจีนแผ่นดินใหญ่, การป้อนชางเจี๋ย 弓中 (NL) หรือ XX弓中 (XXNL), การป้อนสี่มุม 77227, การประกอบ ⿰丨㇌)
- สถานที่
- รากอักษรจีนที่ 170 รูปแบบส่วนประกอบด้านซ้าย
การใช้
[แก้ไข]阝 เป็นส่วนประกอบของรากอักษรจีนที่ต่างกันสองตัว โดยแบ่งว่าอยู่ด้านซ้ายหรือด้านขวา ถ้าอยู่ด้านซ้ายคือรากอักษรจีน 阜 เช่น 阪 แต่ถ้าอยู่ด้านขวาคือรากอักษรจีน 邑 เช่น 部
อ้างอิง
[แก้ไข]- พจนานุกรมคังซี: หน้า 1345 อักขระตัวที่ 4
- พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 41536
- พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 1847 อักขระตัวที่ 27
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 6 หน้า 4114 อักขระตัวที่ 3
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+961D
ภาษาจีน
[แก้ไข]ตัวย่อและตัวเต็ม |
阝 |
---|
การออกเสียง
[แก้ไข]- จีนกลาง
- (จีนมาตรฐาน)+
- พินอิน:
- จู้อิน: ㄈㄨˋ
- ทงย่งพินอิน: fù
- เวด-ไจลส์: fu4
- เยล: fù
- กั๋วยฺหวี่หลัวหม่าจื้อ: fuh
- พัลลาดีอุส: фу (fu)
- สัทอักษรสากลจีนวิทยา(คำอธิบาย): /fu⁵¹/
- (จีนมาตรฐาน)+
หมวดหมู่:
- บล็อก CJK Unified Ideographs
- อักขระอักษรจีน
- บล็อก CJK Radicals Supplement
- คำหลักภาษาร่วม
- สัญลักษณ์ภาษาร่วม
- ร่วม terms with non-redundant non-automated sortkeys
- Han char with multiple canj
- zh-pron usage missing POS
- คำหลักภาษาจีน
- คำหลักภาษาจีนกลาง
- ฮั่นจื้อภาษาจีน
- ฮั่นจื้อภาษาจีนกลาง
- ศัพท์ภาษาจีนที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาจีนที่สะกดด้วย 阝