ข้ามไปเนื้อหา

แองโกล-อเมริกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แองโกล-อเมริกา
พื้นที่19,418,198.6 กม2[convert: %s]%s
ประชากร354,830,825
ความหนาแน่น18.3 กม2[convert: %s]%s
เดมะนิมชาวอังกฤษอเมริกัน[1]
ประเทศ
ดินแดน
ภาษาภาษาอังกฤษ
เขตเวลาUTC−03:30 ถึง UTC-10
เมืองใหญ่รายชื่อเมืองในทวีปอเมริกาเหนือ

แองโกล-อเมริกา (อังกฤษ: Anglo-America บางครั้งเรียกว่า แองโกล-แซกซัน อเมริกา[2]) ส่วนใหญ่มักเรียกบริเวณของทวีปอเมริกาที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ[3] แองโกล-อเมริกาอยู่ติดกับลาตินอเมริกา ซึ่งเป็นบริเวณที่กลุ่มภาษาโรมานซ์ (สเปน, โปรตุเกส และฝรั่งเศส) ถูกใช้กันแพร่หลาย[3]

ภูมิศาสตร์

[แก้]

แองโกล-อเมริกา มักใช้กับประเทศสหรัฐและแคนาดา เพราะว่าสองประเทศนี้เป็นประเทศที่ใช้ภาษา���ังกฤษในอเมริกาเหนือ[4]

ในทวีปอเมริกาเหนือมีพื้นที่ที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษแต่ยังคงรวมในแองโกล-อเมริกา เช่น รัฐเกแบ็ก, อะแคเดียในรัฐนิวบรันสวิก และส่วนหนึ่งของอำเภอโคเครนของแคนาดา เป็นกลุ่มพื้นที่ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส[5] อาจจะรวมในแองโกล-อเมริกันเนื่องจากเหตุผลทางวัฒนธรรม, เศรษฐกิจ, ภูมิศาสตร์, ประวัติศาสตร์ และการเมือง เช่นเดียวกันกับปวยร์โตรีโก ซึ่งเป็นประเทศที่ใช้ภาษาสเปน ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของแองโกล-อเมริกา เพราะมันมีสถานะเป็นเครือรัฐของสหรัฐ.[6]

ประชากรในปีค.ศ.2010[7]
ประเทศ ประชากร พื้นที่ ความหนาแน่นของประชากร
แองกวิลลา แองกวิลลา (สหราชอาณาจักร) 14,764 91 km2 (35 sq mi) 162.2/km2 (420/sq mi)
 แอนทีกาและบาร์บิวดา 86,754 442.6 km2 (170.9 sq mi) 196.0/km2 (508/sq mi)
 บาฮามาส 310,426 10,010 km2 (3,860 sq mi) 31.0/km2 (80/sq mi)
 บาร์เบโดส 285,653 430 km2 (170 sq mi) 664.3/km2 (1,721/sq mi)
 เบลีซ 314,522 22,806 km2 (8,805 sq mi) 13.9/km2 (36/sq mi)
เบอร์มิวดา เบอร์มิวดา (สหราชอาณาจักร) 68,268 54 km2 (21 sq mi) 1,264.2/km2 (3,274/sq mi)
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน (สหราชอาณาจักร) 24,939 151 km2 (58 sq mi) 165.2/km2 (428/sq mi)
 แคนาดา 34,255,000 9,984,670 km2 (3,855,100 sq mi) 3.7/km2 (9.6/sq mi)
หมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน (สหราชอาณาจักร) 50,209 264 km2 (102 sq mi) 198.2/km2 (513/sq mi)
 ดอมินีกา 72,813 751 km2 (290 sq mi) 97.0/km2 (251/sq mi)
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (สหราชอาณาจักร) 3,140 12,173 km2 (4,700 sq mi) 0.3/km2 (0.78/sq mi)
 กรีเนดา 107,818 344 km2 (133 sq mi) 313.4/km2 (812/sq mi)
 กายอานา 748,486 196,849 km2 (76,004 sq mi) 3.8/km2 (9.8/sq mi)
 จาเมกา 2,847,232 10,831 km2 (4,182 sq mi) 262.9/km2 (681/sq mi)
มอนต์เซอร์รัต มอนต์เซอร์รัต (สหราชอาณาจักร) 5,118 102 km2 (39 sq mi) 50.2/km2 (130/sq mi)
 เซนต์คิตส์และเนวิส 49,898 261 km2 (101 sq mi) 191.2/km2 (495/sq mi)
 เซนต์ลูเชีย 160,922 606 km2 (234 sq mi) 265.5/km2 (688/sq mi)
 เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 104,217 389 km2 (150 sq mi) 267.9/km2 (694/sq mi)
 ตรินิแดดและโตเบโก 1,228,691 5,128 km2 (1,980 sq mi) 239.6/km2 (621/sq mi)
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส หมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส (สหราชอาณาจักร) 23,528 430 km2 (170 sq mi) 104/km2 (270/sq mi)
 สหรัฐอเมริกา 310,232,863 9,161,966 km2 (3,537,455 sq mi) 33.9/km2 (88/sq mi)
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (สหรัฐ) 109,775 346 km2 (134 sq mi) 317.3/km2 (822/sq mi)
รวม 354,830,825 19,418,198.6 km2 (7,497,408.4 sq mi) 18.3/km2 (47/sq mi)

ชนพื้นเมือง

[แก้]
ประชากรชนพื้นเมืองในปีค.ศ.2010[7]
ประเทศ ประชากร ชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกา ชาวเอเชีย ชนผิวดำ ฮิสแปนิก/
ลาติโน
หลายชนชาติ คอเคเซียน อื่น ๆ
แองกวิลลา แองกวิลลา (สหราชอาณาจักร) 14,764 - - 90.1% - 04.6% 03.7% 01.5%
 แอนทีกาและบาร์บิวดา 86,754 - - 91% - 04.4% 01.7% 02.9%
 บาฮามาส 310,426 - - 85% - - 12% 03%
 บาร์เบโดส 285,653 - 01% 93% - 02.6% 03.2% 0.2%
 เบลีซ 314,522 10.6% - 24.9% 46% - 09.7%
เบอร์มิวดา เบอร์มิวดา (สหราชอาณาจักร) 68,268 - - 54.8% - 06.4% 34.1% 04.7%
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน (สหราชอาณาจักร) 24,939 - - 82% 5% - 06.8% 11.2%
 แคนาดา[8] 33,759,742 3.8% 10.8% 2.01% 0.97% 0.3% 83.78% 0.6%
หมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน (สหราชอาณาจักร) 50,209 - - 20% - 40% 20% 20%
 ดอมินีกา 72,813 02.9% - 86.8% - 08.9% 0.8% 0.7%
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (สหราชอาณาจักร) 3,140 - - - 5% - - -
 กรีเนดา 107,818 - - 82% - 18% - -
 กายอานา 748,486 09.1% 43.5% 30.2% - 16.7% - 0.5%
 จาเมกา 2,847,232 - - 91.2% - 06.2% - 02.6%
มอนต์เซอร์รัต มอนต์เซอร์รัต (สหราชอาณาจักร) 5,118 - - N/A - - N/A N/A
ปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก (สหรัฐ) 3,725,789 0.5% 0.2% 12.4% 98.5% 11.9% 75.8% 03.1%
 เซนต์คิตส์และเนวิส 49,898 - - N/A - - N/A -
 เซนต์ลูเชีย 160,922 - 02.4% 82.5% - 11.9% N/A 03.1%
 เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 104,217 02% 06% 66% - 19% 04% 03%
 ตรินิแดดและโตเบโก 1,228,691 - 40% 37.5% - 20.5% - 02%
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส หมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส (สหราชอาณาจักร) 23,528 - - 90% - - - 10%
 สหรัฐอเมริกา 310,232,863 0.97% 04.8% 12.6% 16.3% 2.9% 72.4% 6.1%
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (สหรัฐ) 109,775 - 01.1% 76.2% 22.3% 03.5% 13.1% 06.1%
Total - - - - - - - -

เศรษฐกิจ

[แก้]
มาตรฐานการครองชีพในปีค.ศ.2009[7]
ประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ)
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว
ดอลลาร์สหรัฐ
สัมประสิทธิ์จีนี[9] ระดับดัชนีการพัฒนามนุษย์
แองกวิลลา แองกวิลลา (สหราชอาณาจักร) 0.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 12,200 - -
 แอนทีกาและบาร์บิวดา 1.55 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 18,100 -
 บาฮามาส 9.09 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 29,800 -
 บาร์เบโดส 5.20 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 18,500 -
 เบลีซ 2.49 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 08,100 -
เบอร์มิวดา เบอร์มิวดา (สหราชอาณาจักร) 4.50 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 69,900 - -
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน (สหราชอาณาจักร) 0.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 38,500 - -
 แคนาดา 1,300.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 38,400 32.1
หมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน (สหราชอาณาจักร) 2.25 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 43,800 - -
 ดอมินีกา 0.74 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 10,200 -
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (สหราชอาณาจักร) 0.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 35,400 - -
 กรีเนดา 1.16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 10,800 -
 กายอานา 2.84 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 03,800 43.2
 จาเมกา 23.24 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 08,200 45.5
มอนต์เซอร์รัต มอนต์เซอร์รัต (สหราชอาณาจักร) 0.30 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 03,400 - -
ปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก (สหรัฐ) 88.00 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 17,100 - -
 เซนต์คิตส์และเนวิส 0.75 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 15,200 -
 เซนต์ลูเชีย 1.75 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 10,900 -
 เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 1.55 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 18,100 -
 ตรินิแดดและโตเบโก 28.41 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 23,100 -
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส หมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส (สหราชอาณาจักร) 0.22 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 11,500 - -
 สหรัฐอเมริกา 14,260.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 46,400 45.0
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (สหรัฐ) 1.577 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 14,500 - -
รวม - - - -

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. This usage refers to those who reside within the geographical area of Anglo-America as opposed to those who are members of the Anglo-American ethnic group.
  2. By the 16th century the term Anglo-Saxon came to refer to all things of the early English period, including language, culture, and people. While it remains the normal term for the latter two aspects, the language began to be called Old English towards the end of the 19th century, as a result of the increasingly strong anti-Germanic nationalism in English society of the 1890s and early 1900s. However many authors still also use the term Anglo-Saxon to refer to the language.
    Crystal, David (2003). The Cambridge Encyclopedia of the English Language. Cambridge University Press. ISBN 0-521-53033-4.
  3. 3.0 3.1 "Anglo-America", vol. 1, Micropædia, Encyclopædia Britannica, 15th ed., Chicago: Encyclopædia Britannica, Inc., 1990. ISBN 0-85229-511-1.
  4. "North America" The Columbia Encyclopedia เก็บถาวร กุมภาพันธ์ 6, 2007 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 6th ed. 2001-5. New York: Columbia University Press.
  5. mutur zikin. "Carte linguistique du Canada / Linguistic map of Canada". muturzikin.com. สืบค้นเมื่อ 22 September 2015.
  6. "2005–2009 Population and Housing Narrative Profile for Puerto Rico". U.S. Census Narrative Profile. U.S. Census. 2005–2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 8, 2011. สืบค้นเมื่อ May 19, 2011.
  7. 7.0 7.1 7.2 CIA world factbook 2010
  8. Gouvernement du Canada, Statistique Canada (January 15, 2001). "Programme du recensement". www12.statcan.gc.ca.
  9. "The World Factbook". cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-04. สืบค้นเมื่อ 22 September 2015.