เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก รายละเอียดการแข่งขัน วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 ทีม 45 สถิติการแข่งขัน จำนวนนัดที่แข่งขัน 239 จำนวนประตู 781 (3.27 ประตูต่อนัด) ผู้ชม 2,934,816 (12,280 คนต่อนัด) ผู้ทำประตูสูงสุด Mohammad Al-Sahlawi (14 ประตู)
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
การแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 รอบสุดท้ายที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยได้รับโควตาทั้งหมด 24 ทีม เริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกในวันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558 ระหว่างติมอร์-เลสเต กับมองโกเลีย [ 1] และจบการแข่งขันวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561
เอเชียนคัพ 2019 เป็นเอเชียนคัพครั้งแรกที่ขยายจำนวนทีมในรอบสุดท้าย จาก 16 ทีม เป็น 24 ทีม
นอกจากนี้ ยังเป็นการคัดเลือกตัวแทนโซนเอเชีย ไปแข่งฟุตบอลโลก 2018 รอบสุดท้ายที่ประเทศรัสเซีย อีกด้วย
ทีมที่เข้ารอบสุดท้าย[ แก้ ]
ทีม
วิธีการเข้ารอบ
วันที่ผ่านเข้ารอบ
ผลงานที่ดีที่สุด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
*เจ้าภาพ ! เจ้าภาพ
01 ! 9 มีนาคม พ.ศ. 2558
รองชนะเลิศ (1996 )
ซาอุดีอาระเบีย
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอ
24 มีนาคม พ.ศ. 2559
ชนะเลิศ (1984 , 1988 , 1996 )
ออสเตรเลีย
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มบี
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
ชนะเลิศ (2015 )
กาตาร์
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
รอบก่อนรองชนะเลิศ (2000 , 2011 )
อิหร่าน
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มดี
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
ชนะเลิศ (1968 , 1972 , 1976 )
ญี่ปุ่น
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี
24 มีนาคม พ.ศ. 2559
ชนะเลิศ (1992,2000,2004,2011)
ไทย
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ
24 มีนาคม พ.ศ. 2559
อันดับที่สาม (1972)
เกาหลีใต้
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มจี
13 มกราคม พ.ศ. 2559
ชนะเลิศ (1956 , 1960 )
อุซเบกิสถาน
ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอช
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
อันดับที่สี่ (2011 )
อิรัก
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
ชนะเลิศ (2007 )
ซีเรีย
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
รอบแบ่งกลุ่ม (1980 , 1984 , 1988 , 1996 , 2011 )
จีน
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
รองชนะเลิศ (1984 , 2004 )
อินเดีย
ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ
11 ตุลาคม พ.ศ. 2560
3 (1964 , 1984 , 2011 )
คีร์กีซสถาน
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ
22 มีนาคม พ.ศ. 2561
0 (ครั้งแรก)
เลบานอน
ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
1 (2000 )
เกาหลีเหนือ
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี
27 มีนาคม พ.ศ. 2561
4 (1980 , 1992 , 2011 , 2015 )
จอร์แดน
ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
3 (2004 , 2011 , 2015 )
เวียดนาม
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
3 (1956 2 , 1960 2 , 2007 )
ปาเลสไตน์
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
1 (2015 )
โอมาน
ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
3 (2004 , 2007 , 2015 )
บาห์เรน
ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
5 (1988 , 2004 , 2007 , 2011 , 2015 )
เติร์กเมนิสถาน
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
1 (2004 )
ฟิลิปปินส์
ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ
27 มีนาคม พ.ศ. 2561
0 (ครั้งแรก)
เยเมน
ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ
27 มีนาคม พ.ศ. 2561
0 (ครั้งแรก)
แผนที่แสดงทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
รอบแรก : มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) จับคู่แข่งขันแบบเหย้า-เยือน 2 นัด หาทีมชนะ 6 ทีมผ่านเข้าสู่รอบสอง
รอบสอง : มี 40 ทีม (ทีมอันดับ 1-34 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาแบ่งเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แข่���ขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน คัดผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม มี 8 ทีม รวมกับทีมอันดับสองที่มีผลงานดีที่สุดอีก 4 ทีม เป็น 12 ทีมที่ผ่านเข้าสู่เอเชียนคัพ รอบสุดท้าย
รอบเพลย์ออฟ : จากรอบสอง ทีมอันดับห้า และอันดับสี่ที่แย่ที่สุดของแต่ละกลุ่ม จะต้องมาแข่งรอบเพลย์ออฟ จนได้ทีมชนะ 8 ทีมผ่านเข้าสู่รอบสาม
รอบสาม : มี 24 ทีม (ทีมอันดับสองที่แย่ที่สุด 4 ทีม ทีมอันดับสาม 8 ทีม ทีมอันดับสี่ที่ดีที่สุด 4 ทีมจากรอบสอง และ 8 ทีมที่ผ่านรอบเพลย์ออฟ) มาแบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน คัดผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม รวมกับทีมอันดับสอง เป็น 12 ทีมที่ผ่านเข้าสู่เอเชียนคัพ รอบสุดท้าย
การแข่งขันรอบคัดเลือกเอเชียนคัพครั้งนี้จะเป็นการหาทีมที่ผ่านเข้าไปแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 ไปในตัวด้วย[ 2]
ปฏิทินการแข่งขันสำหรับรอบคัดเลือก เป็นไปดังนี้[ 4] [ 5] [ 6]
รอบ
การแข่งขัน
วันที่
รอบแรก
นัดแรก
12 มีนาคม พ.ศ. 2558
นัดที่สอง
17 มีนาคม พ.ศ. 2558
รอบที่ 2
วันแข่งขันที่ 1
11 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 2
16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 3
3 กันยายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 4
8 กันยายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 5
8 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 6
13 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 7
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 8
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 9
24 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 10
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
รอบ
การแข่งขัน
วันที่
รอบเพลย์ออฟ
รอบที่ 1 นัดแรก
2 มิถุนายน พ.ศ. 2559
รอบที่ 1 นัดสอง
7 มิถุนายน พ.ศ. 2559
รอบที่ 2 นัดแรก
6 กันยายน พ.ศ. 2559
รอบที่ 2 นัดสอง
11 ตุลาคม พ.ศ. 2559
รอบที่ 3
วันแข่งขันที่ 1
28 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 2
13 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 3
5 กันยายน พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 4
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 5
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 6
27 มีนาคม พ.ศ. 2561
จับฉลากคู่แข่งขันรอบแรกเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เวลา 15:30 น. ตามเวลาในมาเลเซีย (UTC+8 ) ที่สำนักงานใหญ่สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียในกัวลาลัมเปอร์ [ 7]
แหล่งข้อมูล:
FIFA (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
Notes:
↑ การแข่งขันระหว่างมาเลเซียและซาอุดีอาระเบียในวันที่ 8 กันยายน 2558 ถูกสั่งยกเลิกในนาทีที่ 87 เนื่องจากผู้ชมขว้างปาสิ่งของลงมาในสนาม ในขณะนั้นซาอุดีอาระเบียนำอยู่ 1-2 ในวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ฟีฟ่าตัดสินยกเลิกผลการแข่งขันและปรับมาเลเซียแพ้ 0-3[ 8] [ 9]
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
Notes:
↑ FIFA awarded Iran a 3–0 win as a result of India fielding the ineligible player Eugeneson Lyngdoh .[ 10] The match initially ended 3–0 to Iran.
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (D) ตัดสิทธิ์;
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
Notes:
↑ On 30 May 2015, FIFA announced that the Football Association of Indonesia (PSSI) was suspended with immediate effect for governmental interference.[ 11] On 3 June 2015, the AFC confirmed that Indonesia have been excluded from the qualifying competition, and all matches involving them have been cancelled.[ 12]
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
Notes:
↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 On 16 October 2015, the Kuwait FA was suspended by FIFA with immediate effect, after Kuwait had failed to comply with a decision from the FIFA Executive Committee that sports law of the country had to be changed before 15 October. The three remaining matches involving Kuwait (away v Myanmar, home v Laos, away v South Korea) were not played as originally scheduled, and were later awarded as 3–0 wins for Kuwait's opponents.
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
Notes:
↑ FIFA awarded North Korea a 3–0 win as a result of Yemen fielding the ineligible player Mudir Al-Radaei, after North Korea had defeated Yemen 1–0. Al-Radaei failed to serve an automatic one match suspension for receiving two yellow cards earlier in the First Round of the competition.[ 13]
ตารางคะแนนอันดับสองที่ดีที่สุด[ แก้ ]
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2016. แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า กฏการจัดอันดับ: 1) Points from matches against teams ranked first to fourth in the group; 2) Superior goal difference from these matches; 3) Higher number of goals scored in these matches; 4) Play-off
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
Notes:
ตารางคะแนนอันดับสี่ที่ดีที่สุด[ แก้ ]
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า กฏการจัดอันดับ: 1) Points from matches against teams ranked first to third in the group; 2) Goal difference from these matches; 3) Goals scored in these matches; 4) Play-off
การจับสลากประกบคู่แข่งขันจัดขึ้นในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2559 เวลา 15:00 น. (เวลามาเลเซีย) ณ เอเอฟซีเฮาส์ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย [ 14]
การแข่งขันรอบคัดเลือกรอบที่ 3 จะมีทั้งหมด 24 ทีมเข้าร่วมแข่งขัน โดยรอบนี้จะคัดเลือกทีมทั้งหมด 12 ทีมเข้าสู่เอเชียนคัพ รอบสุดท้าย ซึ่งมี 12 ทีมได้เข้ารอบสุดท้ายก่อนหน้านี้แล้ว คือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (เจ้าภาพ), ซาอุดีอาระเบีย , ออสเตรเลีย , กาตาร์ , จีน , อิหร่าน , ญี่ปุ่น , ซีเรีย , ไทย , อิรัก , เกาหลีใต้ และอุซเบกิสถาน
จากการถอนตัวของฟุตบอลทีมชาติกวม และการถูกตัดสิทธิ์ของฟุตบอลทีมชาติคูเวต โดยทางสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (เอเอฟซี) ได้เชิญฟุตบอลทีมชาติเนปาล และฟุตบอลทีมชาติมาเก๊า ซึ่งเป็นทีมชนะเลิศ และรองชนะเลิศรายการเอเอฟซี โซลิดาริตี้ คัพ 2016 เข้ามาแข่งขันแทน[ 15]
การจับสลากแบ่งสายของการแข่งขันรอบคัดเลือกรอบที่ 3 จะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560 เวลา 14:00 น. (UTC+04:00 ) ณ นครอาบูดาบี ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ [ 15]
↑ 1.0 1.1 Head-to-head results: India 1–0 Kyrgyzstan, Kyrgyzstan 2–1 India (India won on away goals).
↑ 1.0 1.1 Head-to-head results: Palestine 2–1 Oman, Oman 1–0 Palestine (Oman won on away goals).
ทัวร์นาเม้นต์ นัดชิงชนะเลิศ รอบคัดเลือก ผู้เล่น