ข้ามไปเนื้อหา

เรือบรรทุกเครื่องบินฮิริว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Hiryū at anchor in Yokosuka, shortly after completion in 1939
ภาพรวมชั้น
ผู้ใช้งาน: Naval flag of จักรวรรดิญี่ปุ่น กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
ก่อนหน้าโดย: Sōryū
ตามหลังโดย: Shōkaku class
สร้างเมื่อ: 1936–1939
ในประจำการ: 1939–1942
เสร็จแล้ว: 1
สูญเสีย: 1
ประวัติ
จักรวรรดิญี่ปุ่น
ชื่อฮิริว
ตั้งชื่อตามญี่ปุ่น: 飛龍 "Flying Dragon"
อู่เรืออู่ทหารเรือโยโกซูกะ
ปล่อยเรือ8 กรกฎาคม ค.ศ. 1936
เดินเรือแรก16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1937
เข้าประจำการ5 กรกฎาคม ค.ศ. 1939
Stricken25 กันยายน ค.ศ. 1942
ความเป็นไปถูกทำให้จมโดยการโจมตีทางอากาศของสหรัฐที่ยุทธนาวีที่มิดเวย์ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1942
ลักษณะเฉพาะ
ประเภท: เรือบรรทุกเครื่องบิน
ขนาด (ระวางขับน้ำ):
ความยาว: 227.4 m (746 ft 1 in) (o/a)
ความกว้าง: 22.3 m (73 ft 2 in)
กินน้ำลึก: 7.8 m (25 ft 7 in)
ระบบพลังงาน:
ระบบขับเคลื่อน:
  • 4 × shafts; 4 × geared steam turbines
  • ความเร็ว: 34 นอต (63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 39 ไมล์ต่อชั่วโมง)
    พิสัยเชื้อเพลิง: 10,330 nmi (19,130 km; 11,890 mi) at 18 นอต (33 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 21 ไมล์ต่อชั่วโมง)
    อัตราเต็มที่: 1,100
    ยุทโธปกรณ์:
    เกราะ:
  • Waterline belt: 9–15 ซm (3.5–5.9 in)
  • Deck: 25–55 mm (1.0–2.2 in)
  • อากาศยาน:
  • 64 (+9 spares)
  • 21 Mitsubishi A6M Zero
  • 18 Aichi D3A
  • 18 Nakajima B5N (7 Dec. 1941)[1]
  • เรือบรรทุกเครื่องบินฮิริว (ญี่ปุ่น: 飛龍) เป็นเรือบรรทุกอากาศยานที่กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นสร้างขึ้น โดยเธอมีส่วนร่วมในการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์, ยุทธการที่เกาะเวก และการทิ้งระเบิดดาร์วิน

    เรือฮิริวเข้าร่วมกองทัพอากาศยานที่ 1 ในยุทธนาวีที่มิดเวย์เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1942 ต่อมาเมื่อทิ้งระเบิดใส่กองทัพอเมริกันบนอะทอลล์แล้ว เรือฮิริวและเรืออื่น ๆ อีกสามลำถูกอากาศยานอเมริกันและเรือบรรทุกอื่น ๆ คือ เอนเทอร์ไพรซ์, ฮอร์เนต, และยอร์กทาวน์ เข้าโจมตีจากมิดเวย์ เครื่องบินดำดิ่งทิ้งระเบิดจากเรือยอร์กทาวน์และเอนเทอร์ไพรซ์ได้จมเรือฮิริว การสูญเสียของฮิริวและเรือบรรทุกเครื่องบินสามลำของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นที่มิดเวย์เป็นความพ่ายแพ้ทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญสำหรับญี่ปุ่นและมีส่วนที่สำคัญต่อชัยชนะอย่างล้นหลามของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก

    ดูเพิ่ม

    [แก้]

    อ้างอิง

    [แก้]
    1. Bōeichō Bōei Kenshūjo, p. 344

    แหล่งข้อมูลอื่น

    [แก้]