ยุทธการที่โกรกธารโกะเทะ
ยุทธการที่โกรกธารโกะเทะ (2311) ဂုတ်ထိပ်တိုက်ပွဲ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามจีน-พม่า | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
จักรวรรดิชิง | ราชวงศ์โก้นบอง | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
หมิงรุ่ย[2] | มะฮาซีตู | ||||||
หน่วยที่เกี่ยวข้อง | |||||||
กองทัพ แปดกองธง Tai militias | กองทัพอาณาจักรพม่า | ||||||
Bamar and Shan levies | |||||||
กำลัง | |||||||
~15,000[3] | ~7,000-8000[3] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
Unknown | Unknown |
ยุทธการที่โกรกธารโกะเทะ (ဂုတ်ထိပ်တိုက်ပွဲ) เป็นการรบกันใน สงครามจีน-พม่า การต่อสู้ระหว่าง ราชวงศ์โก้นบอง ของพม่า และ ราชวงศ์ชิง ของจีนในช่วงปลายเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2310 หรือต้นเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2311 เป็นการรบหลักครั้งแรกในการบุกครั้งที่ 3 โดยกองทัพจีนซึ่งก่อนหน้านั้นไม่ประสบความสำเร็จในการบุกพม่าใน พ.ศ. 2308 และ พ.ศ. 2309 ชัยชนะของกองทัพจีนครั้งนี้เป็นการเคลียร์ทางให้กองทัพหลักของจีนมุ่งหน้าสู่ อังวะ ราชธานีของพม่าในขณะนั้น
รายละเอียด
[แก้]กองทัพจีนวางแผนบุกเป็นสองทาง กองทัพหลักของจีนนำโดย หมิงรุ่ย พระราชบุตรเขยของ จักรพรรดิเฉียนหลง บุกมายัง อังวะ ผ่านทาง แสนหวี ล่าเสี้ยว และ สี่ป้อ แ��ะทางใต้ของ Namtu River (เส้นทางการบุกหลักเป็นเส้นทางเดียวกันกับกองทัพแมนจูเมื่อร้อยปีก่อนหน้าที่ตามจับ จักรพรรดิหย่งลี่ แห่งราชวงศ์หมิงใต้) ส่วนกองทัพที่ 2 นำโดยขุนพลเอ๋อเอ่อร์เติงเอ๋อ ซึ่งพยายามมาทางเมือง บะมอ อีกครั้ง
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Lt. Gen. Arthur P. Phayre (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta. pp. 196–197.
Maha Sithu's army left Ava in mid December. It could reach near Goteik in 2-4 weeks' time. - ↑ Charles Patterson Giersch (2006). Asian borderlands: the transformation of Qing China's Yunnan frontier. Harvard University Press. p. 103. ISBN 978-0-674-02171-6.
- ↑ 3.0 3.1 Maung Htin Aung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press. p. 178.