ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2021
เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวัน ชิงแชมป์โลก 2021 |
|||
ก่อนหน้า: | 2020 | ถัดไป: | 2022 |
เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2021 (อังกฤษ: 2021 FIA Formula One World Championship) เป็นการแข่งขันรถฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 72 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกที่รับรองโดยสหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (เอฟไอเอ) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลการแข่งขันรถยนต์ระดับนานาชาติ ในฐานะการแข่งขันระดับสูงสุดของการแข่งรถประเภทล้อเปิด (open-wheel racing cars) โดยการแข่งขันชิงแชมป์โลกจะมีกำหนดการเข้าร่วมการแข่งขันหรือกรังด์ปรีซ์ที่จัดขึ้นทั่วโลก นักขับและทีมผู้ผลิตจะแข่งขันกันเพื่อชิงตำแหน่งผู้ชนะเลิศประเภทนักขับ และผู้ชนะเลิศประเภททีมผู้ผลิตตามลำดับ
ผู้เข้าแข่งขัน
[แก้]ทีมและนักขับต่อไปนี้อยู่ภายใต้สัญญาที่จะเข้าร่วมการแข่งขันชิงแชมป์โลกปี 2021 โดยทุกทีมจะใช้ยางรถของปีเรลลี[1] แต่ละทีมจะต้องมีนักขับอย่างน้อยสองคนสำหรับรถสองคัน[2][3]
ทีม | ผู้ผลิต[4] | โครงรถ | เครื่องยนต์ | หมายเลข | นักขับ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|
อัลฟาโรเมโอเรซซิงออร์เลน | อัลฟาโรเมโอเรซซิง-แฟร์รารี | ซี41[5] | แฟร์รารี 065/6[6] | 7 | คิมิ ไรโคเนน | [7] |
99 | อันโตนีโอ โจวีนัซซี | |||||
สกูเดเรียอัลฟาทอรีฮอนด้า | อัลฟาทอรี-ฮอนด้า | เอที02[8] | ฮอนด้า อาร์เอ621เอช[9] | 10 | ปีแยร์ แกสลี | [10] |
22 | ยูกิ สึโนดะ | [11][12] | ||||
อัลไพน์เอฟวันทีม[13] | อัลพีน-เรอโนลต์ | เอ521[14] | เรอโนลต์ อี-เทค 20บี[15] | 14 | เฟร์นันโด อาลอนโซ | [16] |
31 | เอสเตบัน โอกอน | [17] | ||||
แอสตันมาร์ตินเอฟวันทีม[18][19] | แอสตันมาร์ติน-เมอร์เซเดส | เอเอ็มอาร์21[20] | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[21] | 5 | เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล | [22] |
18 | แลนซ์ สโตรลล์ | |||||
สกูเดเรียแฟร์รารีมิสชันวินนาว | แฟร์รารี | เอสเอฟ21[23] | แฟร์รารี 065/6[24] | 16 | ชาร์ล เลอแกลร์ | [25] |
55 | การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ | [26] | ||||
ฮาสเอฟวันทีม | ฮาส-แฟร์รารี | วีเอฟ-21[27] | แฟร์รารี 065/6[28] | 9 | นีคีตา มาเซปิน[a] | [30][31] |
47 | มิค ชูมัคเคอร์ | [32][33] | ||||
แม็กลาเรนเอฟวันทีม | แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส | เอ็มซีแอล35เอ็ม[34] | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[35] | 3 | แดเนียล ริคาร์โด | [36] |
4 | แลนโด นอร์ริส | [37] | ||||
เมอร์เซเดส-เอเอ็มจีเปโตรนาสฟอร์มูลาวันทีม | เมอร์เซเดส | เอฟวัน ดับบลิว12[38] | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[39] | 44 | ลูวิส แฮมิลตัน | [40] |
77 | วัลต์เตรี โบตตัส | [41] | ||||
เร็ดบุลเรซซิง | เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า | อาร์บี16บี[42] | ฮอนด้า อาร์เอ621เอช[43] | 11 | เซร์ฆิโอ เปเรซ | [44] |
33 | มักซ์ แฟร์สตัปเปิน | [45] | ||||
วิลเลียมส์เรซซิง | วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส | เอฟดับบลิว43บี[46] | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม12[47] | 6 | นิโคลัส ลาตีฟี | [48] |
63 | จอร์จ รัสเซลล์ | [49] | ||||
ที่มา:[50] |
การเปลี่ยนแปลงทีม
[แก้]แม็กลาเรนประกาศว่าพวกเขาจะเปลี่ยนจากการใช้เครื่องยนต์ของเรอโนลต์ เป็นเครื่องยนต์ของเมอร์เซเดส ซึ่งแม็กลาเรนเคยใช้เครื่องยนต์ของเมอร์เซเดสระหว่างฤดูกาล 1995 และ 2014[51] เรซซิงพอยต์จะเป็นที่รู้จักในชื่อแอสตันมาร์ติน การเปลี่ยนชื่อครั้งนี้เกิดจากการที่ลอว์เรนซ์ สโตรลล์ หุ้นส่วนของทีม เข้าลงทุนในแอสตันมาร์ติน[52] เรอโนลต์จะเป็นที่รู้จักในชื่ออัลไพน์ ซึ่งเป็นแบรนด์รถสปอร์ตของเรอโนลต์[13]
การเปลี่ยนแปลงนักขับ
[แก้]เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิลออกจากทีมแฟร์รารี เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันปี 2020[53] ที่นั่งของเฟ็ทเทิลถูกแทนที่โดย การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ ผู้ที่จะออกจากทีมแม็กลาเรน[26] แดเนียล ริคาร์โดย้ายจากเรอโนลต์ไปแม็กลาเรน ซึ่งเขาเข้ามาแทนที่ของไซนซ์[36] ริคาร์โดจะถูกแทนที่โดยเฟร์นันโด อาลอนโซ ซึ่งจะขับให้กับอัลไพน์เป็นฤดูกาลแรก[16]
เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิลย้ายไปแอสตันมาร์ติน แทนที่ของเซร์ฆิโอ เปเรซ[22][54] เดิมที เปเรซเซ็นสัญญากับแอสตันมาร์ตินจนถึงปี 2022[55] แต่ย้ายไปเร็ดบุลเรซซิง แทนที่อเล็กซานเดอร์ อัลบอน ซึ่งอัลบอนจะกลายเป็นนักขับสำรองสำหรับฤดูกาล 2021[44] เปเรซเป็นนักขับคนแรกนับตั้งแต่ มาร์ก เวบเบอร์ ในปี 2007 ที่เข้าร่วมทีมโดยไม่ได้เป็นสมาชิกของเร็ดบุลจูเนียร์ทีม[56]
รอแม็ง โกรฌ็อง และเควิน เมานุสเซิน ซึ่งขับให้กับทีมฮาสตั้งแต่ปี 2016 และ 2017 ตามลำดับ ทั้งคู่ย้ายออกจากทีมหลังสิ้นสุดปี 2020[57] โดยมี มิค ชูมัคเคอร์ ผู้ชนะเลิศฟอร์มูลา 2 2020 และลูกชายของมิชชาเอล ชูมัคเคอร์ จะเข้ามาแทนที่[32] พร้อมกับนีคีตา มัซปิน ซึ่งจบอันดับที่ห้าในการแข่งขันฟอร์มูลา 2[30][58]
ยูกิ สึโนดะ ผู้ซึ่งจบอันดับที่สามในการแข่งขันฟอร์มูลา 2 2020 จะย้ายไปขับฟอร์มูลวันให้กับสกูเดเรียอัลฟาทอรี แทนที่ของดานีอิล เควียต สึโนดะจะเป็นนักแข่งฟอร์มูลาวันคนแรกนักตั้งแต่ คามูอิ โคบายาชิ ในปี 2014[11]
ผลและตารางคะแนน
[แก้]กรังด์ปรีซ์
[แก้]ระบบคะแนน
[แก้]คะแนนจะมอบให้กับนักขับ 10 อันดับแรกและนักขับที่ทำรอบเร็วที่สุด ซึ่งนักขับที่ทำรอบที่เร็วที่สุดจะต้องอยู่ใน 10 อันดับแรกเพื่อรับคะแนน ในกรณีที่คะแนนเสมอกันระบบนับถอยหลังจะถูกใช้โดยที่นักขับที่มีผลการแข่งขันดีที่สุดจะได้รับการจัดอันดับสูงกว่า หากผลลัพธ์ที่ดีที่สุดเหมือนกันจะตัดสินโดยผลลัพธ์ถัดไปที่ดีที่สุด คะแนนจะมอบให้สำหรับทุกการแข่งขันโดยใช้ระบบต่อไปนี้:[59]
อันดับ | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | FL |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คะแนน | 25 | 18 | 15 | 12 | 10 | 8 | 6 | 4 | 2 | 1 | 1 |
รอบคัดเลือกแบบสปรินท์ | 3 | 2 | 1 |
ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ
[แก้]
|
|
หมายเหตุ:
- † – นักแข่งไม่ขบการแข่งขัน แต่ได้รับการจัดอันดับ เนื่องจากได้ทำการแข่งขันเกิน 90% แล้ว
- – การแข่งขันที่เบลเยียนกรังด์ปรีซ์ ให้คะเนื่องเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น เนื่องจากมีการแข่งขันน้อยกว่า 75% ของการแข่งขันที่กำหนดไว้ คะแนนเวลาต่อรอบเร็วที่สุดไม่ถูกนำมาคิดคะแนน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Coch, Mat (26 November 2018). "Pirelli to remain F1 tyre supplier until 2023". speedcafe.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2019. สืบค้นเมื่อ 10 February 2019.
- ↑ "2020 Formula One Sporting Regulations" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 28 April 2020. p. 5. สืบค้นเมื่อ 21 May 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "2021 F1 drivers and teams". RaceFans. Collantine Media Ltd. สืบค้นเมื่อ 22 January 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "CONFIRMED: All 10 teams reach new Formula 1 Concorde Agreement". F1. 19 August 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-04. สืบค้นเมื่อ 19 August 2020.
- ↑ Franco Nugnes (19 January 2021). "Alfa Romeo: si chiamerà C41 la monoposto 2021" (ภาษาอิตาลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2021. สืบค้นเมื่อ 19 January 2021.
- ↑ "Alfa Romeo Racing C41". Alfa Romeo Racing. Sauber Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-28. สืบค้นเมื่อ 10 March 2021.
- ↑ "Alfa Romeo to retain Raikkonen and Giovinazzi in unchanged 2021 driver line-up". F1. 30 October 2020. สืบค้นเมื่อ 30 October 2020.
- ↑ "AlphaTauri name date to reveal 2021 F1 car – the AT02". F1. 4 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2021. สืบค้นเมื่อ 4 February 2021.
- ↑ "AT02 Fire Up: 8D Audio | Scuderia AlphaTauri". 16 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2021. สืบค้นเมื่อ 16 February 2021.
- ↑ "AlphaTauri confirm Pierre Gasly is to remain with the team for 2021". F1. 28 October 2020. สืบค้นเมื่อ 28 October 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ 11.0 11.1 "Tsunoda to make F1 racing debut with AlphaTauri in 2021, in place of Kvyat". F1. 16 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-12-16.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Scuderia AlphaTauri Drivers". Scuderia AlphaTauri. 16 December 2020. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ 13.0 13.1 "Renault to rebrand as Alpine F1 Team in 2021". F1. 6 September 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-04. สืบค้นเมื่อ 7 September 2020.
- ↑ Smith, Luke (14 January 2021). "Alpine to launch A521 F1 car next month after livery tease". Autosport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 January 2021. สืบค้นเมื่อ 14 January 2021.
- ↑ Alpine F1 Team [@AlpineF1Team] (2 March 2021). "Alpine A521 Renault E-TECH 20B @OconEsteban @alo_oficial #A521Launch Blue heart in the comments if you're in love!" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 2 March 2021 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ 16.0 16.1 "Fernando Alonso to make sensational return to F1 with Renault in 2021". F1. Formula One Administration. 8 July 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-02. สืบค้นเมื่อ 8 July 2020.
- ↑ "Ocon to replace Hulkenberg at Renault". motorsport.com. Motorsport Network. 29 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2019. สืบค้นเมื่อ 30 August 2019.
- ↑ "Racing Point set to become Aston Martin Racing for 2021". F1. 31 January 2020. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
- ↑ "Wolff doubts Red Bull will have to rely on Renault or Ferrari engines as he rules out Mercedes deal". F1. 9 October 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-11-03.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Aston Martin reveal name of 2021 F1 challenger ahead of next week's launch". F1. 24 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2021. สืบค้นเมื่อ 24 February 2021.
- ↑ "The AMR21". Aston Martin Formula One Team. 3 March 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2021. สืบค้นเมื่อ 3 March 2021.
- ↑ 22.0 22.1 "Vettel to make sensational Racing Point switch in 2021 as they re-brand as Aston Martin". F1. 10 September 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-29. สืบค้นเมื่อ 10 September 2020.
- ↑ "Ferrari reveals SF21 name, launch plan ahead of 2021 F1 test". motorsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2021. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.
- ↑ "SF21, the New Ferrari Single-Seater – Ferrari.com". Ferrari.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2021. สืบค้นเมื่อ 10 March 2021.
- ↑ "Leclerc and Ferrari announce multi-year agreement". F1. Formula One Administration. 23 December 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-07. สืบค้นเมื่อ 23 December 2019.
- ↑ 26.0 26.1 Coch, Mat (14 May 2020). "Ferrari confirms Sainz as Vettel's replacement". speedcafe.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-17. สืบค้นเมื่อ 14 May 2020.
- ↑ "Haas become final team to reveal 2021 launch date". F1. 25 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 February 2021. สืบค้นเมื่อ 25 February 2021.
- ↑ "VF-21". Haas F1 Team. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2021. สืบค้นเมื่อ 9 March 2021.
- ↑ Luke Smith (5 February 2021). "Mazepin set to race under neutral flag after CAS ruling extends to F1". motorsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
- ↑ 30.0 30.1 "Haas sign F2 racer Nikita Mazepin for 2021 on multi-year deal". F1. Formula One World Championship. 1 December 2020.
- ↑ "Никита Мазепин и Мик Шумахер выбрали номера в Формуле 1". Autosport.com.ru (ภาษารัสเซีย). 2 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2 December 2020.
- ↑ 32.0 32.1 "Mick Schumacher to race for Haas in 2021 as famous surname returns to F1 grid". F1. Formula One World Championship. 2 December 2020.
- ↑ "Schumacher: "Correrò con il 47"". FormulaPassion.it (ภาษาอิตาลี). 2 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2 December 2020.
- ↑ Rencken, Dieter; Collantine, Keith (3 November 2020). ""No nasty surprises" designing Mercedes installation for McLaren MCL35M – Key". RaceFans.net. สืบค้นเมื่อ 3 November 2020.
- ↑ "McLaren MCL35M Technical Specification". McLaren. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 February 2021. สืบค้นเมื่อ 15 February 2021.
- ↑ 36.0 36.1 "Australian Formula 1 star Daniel Ricciardo to join McLaren after spell with Renault". ABC News. 14 May 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 14 May 2020.
- ↑ Richards, Giles (10 July 2019). "Lando Norris signs new McLaren contract after superb start to F1 career". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 26 February 2020.
- ↑ Noble, Jonathan (2 February 2021). "Mercedes announces launch date for 2021 F1 car". motorsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2021. สืบค้นเมื่อ 2 February 2021.
- ↑ "Mercedes W12: ecco la scheda tecnica". motorsport.com (ภาษาอิตาลี). 2 March 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2021. สืบค้นเมื่อ 2 March 2021.
- ↑ "Mercedes boss plays down Hamilton's name on 2021 entry list". speedcafe.com. 2020-12-12. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-12. สืบค้นเมื่อ 2020-12-13.
- ↑ "Valtteri Bottas signs new deal to drive for Mercedes in 2021". F1. 6 August 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-04. สืบค้นเมื่อ 6 August 2020.
- ↑ Rencken, Dieter; Collantine, Keith (14 October 2020). "Red Bull will address current car problems in RB16B - Horner". RaceFans. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2020. สืบค้นเมื่อ 18 October 2020.
- ↑ "Meet The RA621H". Honda.Racing. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2021. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.
- ↑ 44.0 44.1 "Perez to partner Verstappen at Red Bull in 2021, as Albon becomes reserve driver". F1. Formula One World Championship. 18 December 2020. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Max Verstappen commits to Red Bull until the end of 2023 - Driver Market". F1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-07. สืบค้นเมื่อ 7 February 2020.
- ↑ Smith, Luke. "Williams reveals launch date for 2021 FW43B Formula 1 car". Autosport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
- ↑ Luca Manacorda (5 March 2021). "La scheda tecnica della Williams FW43B". MotorBox (ภาษาอิตาลี). สืบค้นเมื่อ 5 March 2021.
- ↑ "Russell and Latifi to stay on at Williams in unchanged 2021 driver line-up". F1. 2020-07-16. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-19. สืบค้นเมื่อ 2020-07-16.
- ↑ "Formula 1: Williams confirm George Russell through 2021". Beyond the Flag. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2019. สืบค้นเมื่อ 5 October 2019.
- ↑ "2020 & 2021 FIA Formula One World Championship – Entry List". Fédération Internationale de l'Automobile. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อMcLarenMercedes
- ↑ "Aston Martin Lagonda Global Holdings plc". London Stock Exchange. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-31. สืบค้นเมื่อ 31 January 2020.
- ↑ Smith, Luke (12 May 2020). "Ferrari announces Sebastian Vettel split". Autosport. สืบค้นเมื่อ 12 May 2020.
- ↑ "Sebastian Vettel joining Aston Martin for F1 2021 replacing Sergio Perez". Sky Sports. 10 September 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 2020-09-10.
- ↑ "Perez signs three-year contract extension with Racing Point". F1. 30 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-11. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
- ↑ Coch, Mat (19 December 2020). "Perez replaces Albon at Red Bull for 2021 F1 season". speedcafe.com. Speedcafe.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-19. สืบค้นเมื่อ 20 December 2020.
- ↑ "Grosjean and Magnussen announce they are to leave Haas at the end of 2020". F1. 22 October 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-24. สืบค้นเมื่อ 22 October 2020.
- ↑ "FIA Formula 2 Championship 2020 standings". Driver Database. สืบค้นเมื่อ 2020-12-08.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "2019 Formula One Sporting Regulations". fia.com. 12 March 2019. pp. 3–4, 41. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 March 2019. สืบค้นเมื่อ 27 November 2019.
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ นีคีตา มาเซปินเป็นชาวรัสเซีย แต่เขาจะแข่งขันในฐานะผู้เข้าแข่งขันที่เป็นกลาง เนื่องจากศาลอนุญาโตตุลาการกีฬาประกาศห้ามรัสเซียแข่งขันในการแข่งขันชิงแชมป์โลก ซึ่งดำเนินการโดยองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก ที่ตอบสนองจากกรณีการใช้สารกระตุ้นกับนักกีฬาชาวรัสเซียซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐ[29]