ข้ามไปเนื้อหา

พูดคุย:ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หน้านี้เป็นหน้าพูดคุยสำหรับการแสดงความเห็นเพื่อพัฒนาบทความ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

บทความนี้อยู่ในโครงการวิกิต่อไปนี้:
ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสถานศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสถานศึกษา อันประกอบด้วย โรงเรียน วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย รวมถึงสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ให้เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือแวะไปที่หน้าโครงการเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของ สถานีย่อย:สถาบันอุดมศึกษาไทย มีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมเรื่องทุกอย่างเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย
ถ้าต้องการมีส่วนร่วมกับโครงการ สามารถทำได้ง่าย ๆ โดยเข้าไปที่ โครงการวิกิสถานศึกษา และ หน้าสถานีสถาบันอุดมศึกษาไทย
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ยกมาจากหน้าบทความ

[แก้]

ฝากไว้ตรงนี้ก่อน

สิงห์นั้นเป็นสัญลักษณ์ของชาวรัฐศาสตร์ทั้งหลาย โดยมีนัย หมายถึง ราชสีห์ ซึ่งเป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ ที่ได้รับการกล่าวถึงกันมากในวรรณกรรมเรื่องต่างๆ เพราะถือว่าเป็นสัตว์ที่สำคัญ มีกำลัง มีความดุร้าย และอำนาจเหนือเหนือกว่าสัตว์ทั้งปวง ดังนั้น จึงได้รับการยกย่องให้มีตำแหน่งเป็น “ ราชาแห่งสัตว์ป่า “ และราชสีห์นั้น ก็มักจะถูกนำเอาไปเปรียบเทียบกับผู้มีอำนาจราชศักดิ์อยู่เสมอ จึงอาจกล่าวได้ว่า ราชสีห์นั้นเป็นสัญลักษณ์แห่งอำนาจ และกำลังโดยแท้ และด้วยเหตุนี้กระมัง ที่ทำให้กระทรวงมหาดไทยจึงได้ใช้ตรารูปราชสีห์ เป็นสัญลักษณ์ประจำกระทรวง เนื่องด้วยเหตุที่ในสมัยก่อนนั้น สาขาวิชารัฐศาสตร์ เป็นสาขาวิชาที่เรียกว่าเป็น “ วิชาชีพ “ (มิได้เป็นสาขาวิชาที่เ��็น ” วิชาการ “ ดังเช่นปัจจุบัน) และผู้ศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตร์ ส่วนใหญ่ก็จะเข้ารับราชการอยู่ในกระทรวงมหาดไทย จึงได้มีการนำเอารูปสัญลักษณ์ราชสีห์ มาเป็นสัญลักษณ์สาขาวิชารัฐศาสตร์ และได้มีการเรียกกันสั้นๆ ว่า “ สิงห์ “ มากระทั่งปัจจุบัน แต่สิงห์ของสถาบันอุดมศึกษาที่มีการเปิดสอนในหลักสูตรวิชารัฐศาสตร์ ก็มีสีสันที่แตกต่างกันออกไป ตามแต่ละสถาบัน โดยภาควิชารัฐศาสตร์และรํฐประศาสนศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้สัญลักษณ์เป็น “ สิงห์เขียว ”

ซึ่งตามตำนานแล้ว สัตว์ที่เรียกกันว่า ราชสีห์ นั้นมมีอยู่ด้วยกัน 4 ชนิด ได้แก่

  • 1.ไกรสรราชสีห์ คือ ราชสีห์ขาว
  • 2.กาละราชสีหะ (กาฬสีห์) คือ ราชสีห์ดำ
  • 3.ตินสีหะ (ติณณสีหะ) คือ ราชสีห์เขียว
  • 4.บัณฑุราชสีห์ (บัณฑรสีห์) คือ ราชสีห์เหลือง

หากพิจารณากันตามนี้แล้ว สิงห์เขียว ก็ควรเป็น ติณสีหะ ซึ่งมีลักษณะกายเป็นสีเขียว ลำตัว หัว หาง เป็นอย่างราชสีห์ แต่มีเท้าอย่างโค และกินหญ้าเป็นภักษาหาร ซึ่งในเรื่องรามเกียรติ์นั้น ได้มีการกล่าวถึงราชสีห์เอาไว้ว่า เป็นสัตว์ที่ใช้เทียมรถศึกของฝ่ายยักษ์ และติณสีหะนั้น เป็นสัตว์ที่ใช้ในการเทียมรถศึกของทศกัณฐ์