ผู้ใช้:The Mark-7032/ทดลองเขียน
นี่คือหน้าทดลองเขียนของ The Mark-7032 หน้าทดลองเขียนเป็นหน้าย่อยของหน้าผู้ใช้ ซึ่งผู้ใช้มีไว้ทดลองเขียนหรือไว้พัฒนาหน้าต่าง ๆ แต่นี่ไม่ใช่หน้าบทความสารานุกรม ทดลองเขียนได้ที่นี่ หน้าทดลองเขียนอื่น ๆ: หน้าทดลองเขียนหลัก |
* ความขัดแย้งในอาเรากานิอา ชิลี (พ.ศ. 2563-2565)
Democracy Index
[แก้] ประชาธิปไตยสมบูรณ์ 9.00–10.00 8.00–8.99 | ประชาธิปไตยบกพร่อง 7.00–7.99 6.00–6.99 | กึ่งอำนาจนิยม 5.00–5.99 4.00–4.99 | อำนาจนิยม 3.00–3.99 2.00–2.99 1.00–1.99 0.00–0.99 | ไม่มีข้อมูล |
ดัชนีประชาธิปไตย (อังกฤษ: Democracy Index) เริ่มสำรวจครั้งแรกใน ค.ศ. 2006 เป็นดัชนีที่คิดจากการประมวลผลแบบสอบถามโดยหน่วยข่าวกรองเศรษฐศาสตร์เพื่อเปรียบเทียบความเป็นประชาธิปไตย ใน 167 ประเทศทั่วโลก ดัชนีประชาธิปไตยมีการจัดอันดับตั้งแต่ 0 ถึง 10 ใน 60 คำถาม แบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก่ กระบวนการเลือกตั้งและพหุนิยม เสรีภาพพลเมือง การทำงานของรัฐบาล การมีส่วนร่วมทางการเมือง และวัฒนธรรมทางการเมือง และแบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับประชาธิปไตยสมบูรณ์ ระดับประชาธิปไตยบกพร่อง ระดับกึ่งอำนาจนิยม และระดับอำนาจนิยม
The Democracy Index published by the Economist Group is an index measuring the quality of democracy across the world. This quantitative and comparative assessment is centrally concerned with democratic rights and democratic institutions. The methodology for assessing democracy used in this democracy index is according to Economist Intelligence Unit which is part of the Economist Group, a UK-based private company, which publishes the weekly newspaper The Economist. The index is based on 60 indicators grouped into five categories, measuring pluralism, civil liberties, and political culture. In addition to a numeric score and a ranking, the index categorizes each country into one of four regime types: full democracies, flawed democracies, hybrid regimes, and authoritarian regimes. The first Democracy Index report was published in 2006. Reports were published every two years until 2010 and annually thereafter. The index includes 167 countries and territories, of which 166 are sovereign states and 164 are UN member states. Other democracy indices with similar assessments of the state of democracy include V-Dem Democracy indices or Bertelsmann Transformation Index.
อันดับ
[แก้]2018 Marcon Coup d'etat
[แก้]รัฐประหารในประเทศมาร์กอน พ.ศ. 2561 | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งระหว่างกองทัพและรัฐบาลมาร์กอน พ.ศ. 2560–2561 | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
| พม่า | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เอมิเลีย คริสโตบัล (นายกรัฐมนตรีมาร์กอน) ไซมอน เฮนรี (รองนายกรัฐมนตรีมาร์กอน) |
มี่นอองไลง์ (ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของหน่วยบริการป้องกัน) มหยิ่นซเว (รองประธานาธิบดีพม่า) |
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2561 พลเอกโรลันโด เอเซเกียล ผู้บัญชาการทหารบกของมาร์คอนและคณะทหาร (ฟลอเรนซิโอ ฟุลเกนซิโอ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของมาร์คอน, บาร์โตโลเม ฟิเลมอน ผู้บัญชาการทหารเรือของมาร์คอน และเอมิเลียโน โฆอาควิน ผู้บัญชาการทหารอากาศของมาร์คอน) ในฐานะคณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์กอน ได้เข้าควบคุมอำนาจการปกครองของรัฐบาลที่มีเอมิเลีย คริสโตบัลเป็นนายกรัฐมนตรี (หัวหน้ารัฐบาล) โดยมีการควบคุมตัวคณะรัฐบาล นักการเมือง และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกี่ยวข้อง พร้อมกับการประกาศใช้คำสั่งสถานการณ์ฉุกเฉินและประกาศอื่น ๆ อีก 184 ฉบับ การรัฐประหารดังกล่าวส่งผลทำให้มาร์คอนกลับเข้าสู่ระบอบเผด็จการทหารนับตั้งแต่รัฐประหารในปี 2539
การรัฐประหารครั้งนี้มีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในระหว่างรัฐบาลและกองทัพซึ่งดำเนินมาตั้งแต่กลางปี 2560 โดยรัฐบาลกล่าวหาว่ากองทัพมีการทุจริตงบประมาณสำหรับการสนับสนุนกองทัพ และข้อกล่าวหาว่ากองทัพต้องการควบคุมอำนาจโดยให้เหตุผลว่าการบริหารราชการที่มีเอมิเลียเป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นไปอย่างล่าช้าและเป็นเผด็จการรัฐสภา
หลังการรัฐประหารดังกล่าว ในเดือนกันยายน 2561 สภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งประกอบด้วยทหารและพลเรือนจำนวน 500 คนได้มีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี และภายหลังมีพระบรมราชโองการฯ แต่งตั้งพลเอกโรลันโด เอเซเกียลเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กันยายนของปีเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม ภายใต้การบริหารประเทศของคณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์คอนซึ่งดำเนินเป็นเวลา 6 ปี (2561 ถึง 2567) ถูกวิพา���ษ์วิจารณ์ว่าการดำเนินการในโครงการของรัฐอย่างล่าช้า ละเมิดสิทธิมนุษยชน จำกัดเสรีภาพพลเมืองและควบคุมสื่ออย่างเข้มงวด จำกัดการแสดงความคิดเห็นและการชุมนุมทางการเมือง และการชะลอการเลือกตั้งออกไปบ่อยครั้ง[a]
กระทั่งเดือนสิงหาคม 2567 คณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์คอนจึงมีพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งทั่วประเทศ และหลังจากการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของไซมอน เฮนรีได้เป็นเวลาห้าวัน พลเอกโรลันโด เอเซเกียลในฐานะคณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์คอนได้ประกาศยุติหน้าที่ของคณะฯ
เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ มีการชะลอการเลือกตั้งออกไปดังนี้
- ภายในเดือนตุลาคม 2562
- ภายในเดือนพฤษภาคม 2563
- ภายในเดือนกันยายน 2564
- ภายในเดือนธันวาคม 2565
- ภายในเดือนตุลาคม 2566
- ภายในเดือนสิงหาคม 2567
Dominic Cabinet
[แก้]คณะรัฐมนตรีโดมินิก | |
---|---|
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 32 แห่งสกอตต์ซีแลนด์ | |
พ.ศ. 2560–2563 | |
วันแต่งตั้ง | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 |
วันสิ้นสุด | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (2 ปี 330 วัน) |
บุคคลและองค์กร | |
ประธานาธิบดี | มาร์ก เวร์เนอร์ (ถึง 9 มิถุนายน 2561) ทิม ฮาร์วาร์ด (เริ่ม 9 มิถุนายน 2561) |
นายกรัฐมนตรี | โดมินิก เซนต์ (พลังประชาชนสกอตต์) |
รองนายกรัฐมนตรี | เมดเดอร์ลีน เอลลา (แนวหน้าอนาคต) |
จำนวนรัฐมนตรี | 21 |
จำนวนอดีตรัฐมนตรี | 10 |
จำนวนรัฐมนตรีทั้งหมด | 31 |
พรรคร่วมรัฐบาล | 7 พรรค
|
สถานะในสภานิติบัญญัติ | รัฐบาลผสม 387 / 550 (70%)
|
พรรคฝ่ายค้าน | 5 พรรค
|
ผู้นำฝ่ายค้าน | อดัม โคลตัน (ชาติประชาชน) |
ประวัติ | |
การเลือกตั้ง | 25 มิถุนายน 2560 |
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี | 8 กรกฎาคม 2560 |
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 22 |
วาระสภานิติบัญญัติ | 4 ปี |
งบประมาณ | พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 |
ก่อนหน้า | คณะรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คณะที่ 31 |
ถัดไป | คณะรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คณะที่ 33 |
คณะรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คณะที่ 32 หรือ คณะรัฐมนตรีโดมินิก 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563) เป็นคณะรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรีซึ่งลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 และการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎรโดยนายกรัฐมนตรี (โดมินิก เซนต์) เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 แต่นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีทั้งหมดยังคงรักษาการต่อไปจนกระทั่งการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เมื่อพรรคแนวหน้าอนาคตซึ่งมีเมดเดอร์ลีน เอลลาเป็นหัวหน้าพรรคได้รับที่นั่งมากที่สุดในการเลือกตั้ง และโดมินิก เซนต์พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 แต่คณะรัฐมนตรีโดมินิกทั้งหมดได้สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งในวันที่ 9 มิถุนายนของปีเดียวกันหลังจากการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ทั้งหมด
การแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี
[แก้]หลังจากเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งโดมินิก เซนต์ได้รับการแต่งตั้งตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและการรวมรวมรายชื่อคณะรัฐมนตรี ต่อมาในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 มาร์ก เวร์เนอร์ซึ่งเป็นประธานาธิบดีในขณะนั้นได้มีการลงนามและออกประกาศแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คณะที่ 32 (ประกาศ ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2560) และในวันเดียวกันนี้นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีทั้งหมดได้มีการเข้าร่วมพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง
พิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง
[แก้]วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เวลา 08:00 น. ณ สำนักประธานาธิบดี กรุงบอนนี ประเทศสกอตต์ซีแลนด์ โดมินิก เซนต์ นายกรัฐมนตรี ได้นำคณะรัฐมนตรีทั้งหมดเข้าร่วมในพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่งต่อประธานาธิบดีก่อนเข้ารับหน้าที่รัฐมนตรีต่าง ๆ
รายชื่อคณะรัฐมนตรี
[แก้]คณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/1
[แก้]ดำรงตำแหน่งเมื่อแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมด
[แก้]วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมดดังนี้
- โดมินิก เซนต์ เป็นนายกรัฐมนตรี
- เมดเดอร์ลีน เอลลา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
- ไอรีน เซนต์ เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- พลเอก คาร์เตอร์ คาเมรอน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- เวสตัน นิโคลัส เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
- อเมเลีย เมอร์ซีย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ
- ควินน์ อเดลีน เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
- อเดลีน ชิลแลน เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ
- ทริสตัน บิตเลอร์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ
- แอนโตนิโอ ทักเกอร์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
- แบรนดอน ไรลีย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- มาร์กาเรต โคลต์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- เฮย์เดน แมกซ์เวลล์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
- โฮลเดน มัลคอล์ม เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสิ่งแวดล้อม
- นิโก แบรนท์ลีย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีแห่งชาติ
- คิมเบอร์ลี คามิลา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
- เดสมอนด์ ลูเซียโน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
- รอยซ์ เอสเตบัน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
- ฟรานซิส โดโนวาน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
- นีนา ซามารา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
- ฟินเนแกน เมมฟิส เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- นีลเซน โควล์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
- คามิลล์ ดาเนียลา เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
- เฟรยา วาเลอเรีย เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ภายหลังคณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/1
[แก้]มีรัฐมนตรีจำนวน 1 ราย ได้ลาออกจากตำแหน่งและมีผลเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 คือ
- พลเอก คาร์เตอร์ คาเมรอน (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม)
คณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/2
[แก้]วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีดังนี้
โยกย้าย
[แก้]- เวสตัน นิโคลัส เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
แต่งตั้งเพิ่ม
[แก้]- ไบรสัน เอมิเลียโน เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
ภายหลังคณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/2
[แก้]มีรัฐมนตรีจำนวน 1 ราย ได้ลาออกจากตำแหน่งและมีผลเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2562 คือ
- นีลเซน โควล์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข)
คณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/3
[แก้]วันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2562 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีดังนี้
แต่งตั้งเพิ่ม
[แก้]- จูเลีย บริเอล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
คณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/4
[แก้]วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2562 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีดังนี้
โยกย้าย
[แก้]- คามิลล์ ดาเนียลา (รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ)
ภายหลังคณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/4
[แก้]มีรัฐมนตรีจำนวน 1 ราย ได้ลาออกจากตำแหน่งและมีผลเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2562 คือ
- คิมเบอร์ลี คามิลา (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์)
คณะรัฐมนตรีโดมินิก 1/5
[แก้]วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2562 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีดังนี้
โยกย้าย
[แก้]- เฮย์เดน แมกซ์เวลล์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
แต่งตั้งเพิ่ม
[แก้]- เรมิงตัน ไบรซ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ตารางคณะรัฐมนตรี
[แก้]รัฐมนตรีว่าการกระทรวง | ดำรงตำแหน่งเมื่อตั้งคณะรัฐมนตรี | ดำรงตำแหน่งจนสิ้นสุดคณะรัฐมนตรี | ||
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง | แต่งตั้งเพิ่ม | เปลี่ยนแปลง/โยกย้ายไปตำแหน่งอื่น | ||
รัฐมนตรีลอย | ย้ายมาจากตำแหน่งอื่น | ออกจากตำแหน่ง |
ตำแหน่ง | ลำดับ | รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ | พรรคการเมือง | ||||
นายกรัฐมนตรี | * | โดมินิก เซนต์ | 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 | มีการประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เพื่อจัดการเลือกตั้งใหม่ | พลังประชาชนสกอตต์ | ||||
รองนายกรัฐมนตรี | 1 | เมดเดอร์ลีน เอลลา | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 | มีประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 | แนวหน้าอนาคต | ||||
สำนักนายกรัฐมนตรี | 2 | ไอรีน เซนต์ | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 | พลังประชาชนสกอตต์ | |||||
กลาโหม | พลเอก คาร์เตอร์ คาเมรอน | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 | ลาออกจากตำแหน่ง | พลังประชาชนสกอตต์ | |||||
3 | เวสตัน นิโคลัส | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 | พลังประชาชนสกอตต์ | ||||||
* | เวสตัน นิโคลัส | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 | ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | พลังประชาชนสกอตต์ | |||||
4 | ไบรสัน เอมิเลียโน | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 | 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 | พลังประชาชนสกอตต์ |
Sealand President
[แก้]
- ประธานาธิบดีจากผลของรัฐประหาร
- ผู้รักษาการแทนประธานาธิบดี
- คณะรัฐประหาร
ลำดับ (สมัย) |
ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
รัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ (ชุดที่) |
การดำรงตำแหน่ง | พรรคการเมือง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มวาระ (เริ่มต้นโดย) |
สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ระยะเวลา | |||||
1 | เจมส์ แฟรงคลิน (James Franklin) |
1 | 1 มกราคม พ.ศ. 2500 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 1) |
31 ธันวาคม พ.ศ. 2504 (สิ้นสุดการเป็นประธานาธิบดีตามกฎหมาย[a] การยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป) |
4 ปี 344 วัน | ฟรีซีแลนด์ | |
- | จอห์น มาร์ก (John Mark) |
1 มกราคม พ.ศ. 2505 (การสิ้นสุดการเป็นประธานาธิบดีของเจมส์ แฟรงคลิน) |
10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 (มีประธานาธิบดีคนใหม่) |
0 ปี 40 วัน (รักษาการประธานาธิบดี) | |||
2 (1-2) |
ไมค์ จอห์นสัน (Mike Johnson) |
2 | 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 2) |
10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[b]) |
9 ปี 36 วัน | ||
3 | 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 3) |
18 มีนาคม พ.ศ. 2514 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[c]) |
พาวเวอร์สออฟพีเพิล | ||||
3 (1-3) |
พลเอก เบน คาร์รอน (Ben Carron) |
4 | 18 มีนาคม พ.ศ. 2514 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 4) |
3 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[d]) |
8 ปี 178 วัน | อิสระ | |
5 | 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 5) |
7 มิถุนายน พ.ศ. 2520 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[e]) | |||||
6 | 7 มิถุนายน พ.ศ. 2520 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 6) |
12 กันยายน พ.ศ. 2522 (ถึงแก่อสัญกรรม) |
พาวเวอร์สออฟพีเพิล | ||||
- | วิลล์ สเตรน (Will Straint) |
12 กันยายน พ.ศ. 2522 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 6) |
28 ธันวาคม พ.ศ. 2522 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[f]) |
0 ปี 107 วัน (รักษาการประธานาธิบดี) |
อิสระ | ||
4 | บอตส์ คาร์ล (Botts Carl) |
7 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2522 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 7) |
7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[g]) |
3 ปี 41 วัน | ซีแลนด์เนชัน | |
5 | ทิม จอห์น คาร์ล (Tim John Carl) |
8 | 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 8) |
6 มีนาคม พ.ศ. 2529 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[h]) |
3 ปี 27 วัน | ||
6 | บอนน์ จอห์น (Bonn John) |
9 | 6 มีนาคม พ.ศ. 2529 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 9) |
23 กันยายน พ.ศ. 2529 (ลาออก ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[i]) |
0 ปี 201 วัน | ||
- | วอลต์ตัน เจมส์ (Walton James) |
23 กันยายน พ.ศ. 2529 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 9) |
7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 (มีประธานาธิบดีคนใหม่) |
0 ปี 45 วัน (รักษาการประธานาธิบดี) |
อิสระ | ||
7 | พลเอก โจ สตรอนเกอร์ (Joe Stronger) |
10 | 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 10) |
25 มิถุนายน พ.ศ. 2533 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[j][k]) |
3 ปี 230 วัน | ซีแลนด์เนชัน | |
8 | พลตรี ทิม บาร์เลน (Tim Barlen) |
11 | 25 มิถุนายน พ.ศ. 2533 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 11) |
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 (รัฐประหาร) |
1 ปี 241 วัน | พาวเวอร์สออฟพีเพิล | |
คณะรักษาความสงบและป้องกันภัยแห่งสหรัฐซีแลนด์ (หัวหน้าคณะ: จอห์น คลาร์ก ซาร์เตอร์) |
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 | 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 | 0 ปี 8 วัน (ใช้อำนาจประธานาธิบดี) | ||||
9 | พลเอก จอห์น คลาร์ก ซาร์เตอร์ (John C. Sarter) |
- | 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 (มติโดยคณะรักษาความสงบและป้องกันภัยแห่งสหรัฐซีแลนด์) |
3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป[l]) |
1 ปี 348 วัน | อิสระ | |
12 | 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 12) |
12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 (ถึงแก่อสัญกรรม) | |||||
- | วิน สตาร์ก (Win Stark) |
12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 12) |
18 มีนาคม พ.ศ. 2537 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[m])) |
2 ปี 118 วัน | อิสระ | ||
10 (1-2) |
13 | 18 มีนาคม พ.ศ. 2537 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 13) |
19 เมษายน พ.ศ. 2539 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[n]) |
ยูไนเต็ดฟิวเจอร์ | |||
14 | 19 เมษายน พ.ศ. 2539 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 14) |
9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 (ลาออก เนื่องจากเหตุจลาจลและการประท้วงขับไล่รัฐบาล) | |||||
- | เวสต์ นอมเบรส (West Nombres) |
9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 14) |
11 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[o]) |
0 ปี 154 วัน | |||
11 (1) |
15 | 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 15) |
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (รัฐประหาร) | ||||
คณะปฎิรูปและรักษาความเรียบร้อยแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: จูเลียน สตอร์ม) |
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 | 0 ปี 14 วัน (ใช้อำนาจประธานาธิบดี) | ||||
12 (1) |
พลเอก จูเลียน สตอร์ม (Julian Strom) |
- | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (แต่งตั้งโดยคณะปฎิรูปและรักษาความเรียบร้อยแห่งชาติ) |
15 สิงหาคม พ.ศ. 2540 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป[p]) |
0 ปี 264 วัน | อิสระ | |
11 (2) |
เวสต์ นอมเบรส (West Nombres) |
16 | 15 สิงหาคม พ.ศ. 2540 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 16) |
1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[q]) |
3 ปี 78 วัน | นิวโซเชียลซีแลนด์ | |
13 | เชฟ เจอร์ก เบนสต์ | 17 | 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 17) |
17 เมษายน พ.ศ. 2544 (ลาออก เนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ) |
0 ปี 167 วัน | ||
12 (2) |
พลเอก จูเลียน สตอร์ม (Julian Strom) |
17 เมษายน พ.ศ. 2544 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 17) |
1 เมษายน พ.ศ. 2547 (สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[r]) |
2 ปี 350 วัน | ยูไนเต็ดฟิวเจอร์ | ||
14 | มาร์ก เวสต์ (Mark West) |
18 | 1 เมษายน พ.ศ. 2547 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 18) |
15 กันยายน พ.ศ. 2548 (ลาออก เนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ) |
1 ปี 167 วัน | ออลซีแลนด์ | |
- | เบน เวสต์ (ฺBen West) |
15 กันยายน พ.ศ. 2548 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 18) |
6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[s]) |
2 ปี 297 วัน | |||
15 | 19 | 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 19) |
8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 (ลาออก เนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ การยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[t] | ||||
- | คลาร์ก เวสต์เตอร์ (Clark Wester) |
8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 19) |
17 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดี) |
1 ปี 250 วัน | |||
16 | 20 | 17 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 20) |
15 มีนาคม พ.ศ. 2553 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[u]) | ||||
17 | เจมส์ เวสตินส์ (James Westins) |
21 | 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 21) |
5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (ศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐซีแลนด์วินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง การยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป และถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี[v][w]) |
1 ปี 327 วัน | นิวโซเชียลซีแลนด์ | |
- | ไมค์ ชาร์ลส์ (Mike Charles) (เกิด พ.ศ. 2524) |
5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (ประธานาธิบดีพ้นจากตำแหน่ง) |
12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดี) |
2 ปี 30 วัน | ออลซีแลนด์ | ||
18 | 22 | 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 22) |
7 มีนาคม พ.ศ. 2557 (ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[x]) | ||||
19 | เจมส์ มาร์กเตอร์ (James Markter) (เกิด พ.ศ. 2523) |
23 | 7 มีนาคม พ.ศ. 2557 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 23) |
26 มีนาคม พ.ศ. 2558 (ลาออก เนื่องจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ การประท้วงขับไล่รัฐบาลภายในประเทศ การยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[y]) |
1 ปี 19 วัน | นิวโซเชียลซีแลนด์ | |
- | ไมค์ ชาร์ลส์ (Mike Charles) (เกิด พ.ศ. 2524) |
26 มีนาคม พ.ศ. 2558 (ประธานาธิบดีลาออกจากตำแหน่ง) |
4 เมษายน พ.ศ. 2558 (มีประธานาธิบดีคนใหม่) |
0 ปี 9 วัน (รักษาการประธานาธิบดี) |
ออลซีแลนด์ | ||
20 | จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ (Junior Sworter) (เกิด พ.ศ. 2528) |
24 | 4 เมษายน พ.ศ. 2558 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 24) |
15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (ลาออก เนื่องจากวิกฤตการณ์พลังงานภายในประเทศ) |
1 ปี 255 วัน | ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | |
21 (1) |
พลตรี บาร์ลัส โวลส์ (Barlas Volts) (เกิด พ.ศ. 2521) |
15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 24[z]) |
2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (ลาออก[aa] ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจ���ดการเลือกตั้งทั่วไป[ab]) |
2 ปี 36 วัน | กองทัพ | ||
21 (2) |
พลตรี บาร์ลัส โวลส์ (Barlas Volts) (เกิด พ.ศ. 2521) |
25 | 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 25) |
29 ตุลาคม พ.ศ. 2561 (เกิดวิกฤตการณ์ประธานาธิบดีซีแลนด์) |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | ||
21 (ขัดแย้ง) |
29 ตุลาคม พ.ศ. 2561 (เกิดวิกฤตการณ์ประธานาธิบดีซีแลนด์) |
20 มกราคม พ.ศ. 2562 (ลาออก) | |||||
มาร์ก สวอร์ตเตอร์ (Mark Sworter) (เกิด พ.ศ. 2530) |
20 มกราคม พ.ศ. 2562 (มีประธานาธิบดีคนใหม่) |
0 ปี 83 วัน (ไม่เป็นทางการ) |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | ||||
22 | 20 มกราคม พ.ศ. 2562 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 25) |
25 มกราคม พ.ศ. 2562 (รัฐประหาร) |
0 ปี 5 วัน | ||||
คณะรักษาความสงบแห่งสหรัฐซีแลนด์ (หัวหน้าคณะ: บาร์ส ซูเมอร์) |
25 มกราคม พ.ศ. 2562 | 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 | 0 ปี 8 วัน (ใช้อำนาจประธานาธิบดี) | ||||
23 | ร้อยตรี บาร์ส ซูเมอร์ (Barts Soomer) (2528–2563) |
- | 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (แต่งตั้งโดยคณะรักษาความสงบแห่งสหรัฐซีแลนด์) |
22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป และถูกลอบสังหารในปี 2563[ac][ad]) |
1 ปี 20 วัน | คณะรักษาความสงบแห่งสหรัฐซีแลนด์ | |
- | ทอม แอร์สัน (Tom Airson) |
22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ประธานาธิบดีเสียชีวิต) |
5 มีนาคม พ.ศ. 2563 (มีประธานาธิบดีคนใหม่) |
0 ปี 12 วัน (รักษาการประธานาธิบดี) |
อิสระ | ||
24 | ไอซิก พิวทิม (Isig Pewtim) (เกิด พ.ศ. 2533) |
26 | 5 มีนาคม พ.ศ. 2563 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 26) |
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ae]) |
2 ปี 243 วัน | ฟิวเจอร์ซีแลนด์ | |
25 (1) |
มัวร่า เลวี (Muera Leivy) (เกิด พ.ศ. 2531) |
27 | 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 27) |
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (รัฐประหาร) |
0 ปี 6 วัน | ||
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งสหรัฐซีแลนด์ (หัวหน้าคณะ: เจมส์ บาเลนเซีย) |
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 | 0 ปี 1 วัน (ใช้อำนาจประธานาธิบดี) | ||||
26 | ไบรอัน วิทแมน (Bryan Witman) (เกิด พ.ศ. 2533) |
27 | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 27[af]) |
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 (ลาออก ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ag])) |
0 ปี 95 วัน | ฟิวเจอร์ซีแลนด์ | |
- | ดาเนียล ลาร์กอส (Daniel Largos) (เกิด พ.ศ. 2530) |
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 (ประธานาธิบดีลาออกจากตำแหน่ง) |
28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 (มีประธานาธิบดีคนใหม่) |
0 ปี 15 วัน (รักษาการประธานาธิบดี) | |||
27 | เจมี แชสเทน (Jamie Chastein) (เกิด พ.ศ. 2535) |
28 | 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 28) |
23 ตุลาคม พ.ศ. 2566 (ลาออก เนื่องจากวิกฤตการณ์การเมืองภายในประเทศ) |
0 ปี 237 วัน | ||
27 (2) |
มัวร่า เลวี (Muera Leivy) (เกิด พ.ศ. 2531) |
23 ตุลาคม พ.ศ. 2566 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 28) |
24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป และมีประธานาธิบดีคนใหม่[ah]) |
0 ปี 32 วัน | |||
28 | ทอมสัน สตาร์ตบิลดิง (Tomson Startbuilding) (เกิด พ.ศ. 2531) |
29 | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 (มติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 29) |
ปัจจุบัน | 1 ปี 4 วัน | ออลซีแลนด์ |
เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ กฎหมายแห่งสหรัฐซีแลนด์ พ.ศ. 2501 กำหนดให้ประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 4 ปี นับตั้งแต่วันเริ่มดำรงตำแหน่ง
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2510
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2514
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2517
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2520
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2522 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2522
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2526
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2529 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2529
- ↑ รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐซีแลนด์ พ.ศ. 2528 ได้มีการเปลี่ยนแปลงให้ประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 3 ปี และ 2 วาระ
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2533
- ↑ คณะรักษาความสงบและป้องกันภัยแห่งสหรัฐซีแลนด์ได้มีการประกาศเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2536 โดยให้จัดการเลือกตั้งในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2537
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2537
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2539
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2539 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2539
- ↑ คณะปฎิรูปและรักษาความเรียบร้อยแห่งชาติได้มีการประกาศเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 โดยให้จัดการเลือกตั้งในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2540
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2543
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2547
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2548 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2548
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2555 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐซีแลนด์วินิจฉัยให้ เจมส์ เวสตินส์ พ้นจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยมีมติ 8:1 เนื่องจากการทุจริตในโครงการของรัฐบาลจำนวน 12 รายการ รวมถึงการไม่สามารถแก้ปัญหาจากสถานการณ์อุทกภัยใน พ.ศ. 2554 อีกด้วย และมีการตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2557 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2558 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2558
- ↑ การลงมติและแต่งตั้งประธานาธิบดีในครั้งนี้เกิดขึ้นโดยสมาชิกรัฐสภา ซึ่งมีสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์
- ↑ ลาออกเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2561
- ↑ คณะรักษาความสงบแห่งสหรัฐซีแลนด์ได้มีการประกาศเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยให้จัดการเลือกตั้งในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
- ↑ เสียชีวิตจากการถูกลอบสังหารเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2565
- ↑ การลงมติและแต่งตั้งประธานาธิบดีในครั้งนี้เกิดขึ้นในรัฐสภา มิใช่จากการแต่งตั้งโดยคณะรัฐประหาร เนื่องจากคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งสหรัฐซีแลนด์มีคำสั่งให้ระงับรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ ชุดที่ 27 เป็นการชั่วคราว ก่อนที่จะมีการยกเลิกระงับในวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2566 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
Scott-Sealand Prime Minister (Since 1935)
[แก้]- นายกรัฐมนตรีจากผลของรัฐประหาร
- ผู้รักษาการแทนรัฐมนตรี
- คณะรัฐประหาร
ลำดับ (สมัยที่) |
ชื่อ (เกิด−เสียชีวิต) |
รัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ (ชุดที่) |
คณะรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ (คณะที่) |
การดำรงตำแหน่ง | พรรคการเมือง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มวาระ (เริ่มต้นโดย) |
สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ระยะเวลา | ||||||
1 | พลอากาศเอก จอห์น เวลินเนอร์ (John Veliner) (2422−2508) |
– | 1 | 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 (มติของคณะปฏิรูปประชาชน) |
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 (จัดการเลือกตั้งทั่วไป[a]) |
2 ปี 38 วัน | คณะปฏิรูปประชาชน | |
2 | เบน เอลด์เฟอร์ (ฺBen Eldfer) (2428−2516) |
1 | 2 | 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 1) |
23 ธันวาคม พ.ศ. 2483 (รัฐประหาร) |
3 ปี 155 วัน | ||
คณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: พลอากาศเอก จอห์น เวลินเนอร์) |
23 ธันวาคม พ.ศ. 2483 | 5 มกราคม พ.ศ. 2484 | 0 ปี 13 วัน[b] | |||||
3 | พลเอก เจมส์ วัตฟอร์ด (James Watford) (2413−2531) |
– | 3 | 5 มกราคม พ.ศ. 2484 (มติโดยคณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติ) |
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป[c]) |
4 ปี 53 วัน | อิสระ | |
4 | ไมค์ แอลเลอร์ (Mike Aller) (2446−2527) |
2 | 4 | 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 2) |
28 มีนาคม พ.ศ. 2492 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[d]) |
4 ปี 29 วัน | พลังชาวสกอตต์ | |
5 | เจมส์ มิชิแกน (James Michigan) (2444−2510) |
3 | 5 | 28 มีนาคม พ.ศ. 2492 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 3) |
11 มกราคม พ.ศ. 2495 (รัฐประหาร) |
2 ปี 289 วัน | ||
คณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติที่สอง (หัวหน้าคณะ: พลอากาศเอก จอห์น เวลินเนอร์) |
11 มกราคม พ.ศ. 2495 | 15 มกราคม พ.ศ. 2495 | 0 ปี 4 วัน[b] | |||||
6 | พลตรี กิมน์ เวลเนตรี (Gimn Velnetree) (2435−2497) |
– | 6 | 15 มกราคม พ.ศ. 2495 (มติโดยคณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติที่สอง) |
17 มีนาคม พ.ศ. 2497 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไปและถูกลอบสังหาร[e]) |
2 ปี 61 วัน | กองทัพ | |
– | จอห์น คีเลตัน (John Keelaton) (2442−2535) |
17 มีนาคม พ.ศ. 2497 (นายกรัฐมนตรีถูกลอบสังหาร) |
11 เมษายน พ.ศ. 2497 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 25 วัน (รักษาการนายกรัฐมนตรี) |
อิสระ | |||
7 | เบน มาร์ก จอห์นสัน (ฺBen Mark Johnson) (2451−2540) |
4 | 7 | 11 เมษายน พ.ศ. 2497 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 4) |
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 (ลาออก เนื่องจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจภายในประเทศ) |
2 ปี 93 วัน | ชาติประชาชน | |
8 (1) |
ทอย มาร์ก (ฺToy Mark) (2454−2539) |
8 | 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 4) |
4 มิถุนายน พ.ศ. 2501 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[f]) |
1 ปี 326 วัน | สังคมใหม่ | ||
9 | ทิม ไอร์แลนด์ (ฺTim Ireland) (2459−2533) |
5 | 9 | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2501 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 5) |
13 กันยายน พ.ศ. 2504 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[g]) |
3 ปี 101 วัน | ชาติประชาชน | |
8 (2-3) |
ทอย มาร์ก (ฺToy Mark) (2454−2539) |
6 | 10 | 13 กันยายน พ.ศ. 2504 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 6) |
2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[h]) |
5 ปี 301 วัน | สังคมใหม่ | |
7 | 11 | 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 7) |
11 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 (รัฐประหาร) | |||||
คณะปฏิวัติแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: พลเอก ทิม นาร์วาร์ด) |
11 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2510 | 0 ปี 92 วัน[b] | |||||
10 | พลเอก ทิม นาร์วาร์ด (Tim Narward) (2451−2525) |
– | 12 | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2510 (มติโดยคณะปฏิวัติแห่งชาติ) |
17 มกราคม พ.ศ. 2514 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป[i]) |
3 ปี 98 วัน | คณะปฏิวัติแห่งชาติ | |
11 | พลเอก จอห์น ซาร์ดิเนียร์ (ฺJohn Sardinear) (2449−2517) |
8 | 13 | 17 มกราคม พ.ศ. 2514 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 8) |
5 สิงหาคม พ.ศ. 2517 (ถึงแก่อสัญกรรม) |
3 ปี 200 วัน | รวมพลังนานาชาติ | |
12 | จอห์น เนสต์ (ฺJohn Nest) (2461−2553) |
14 | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2517 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 8) |
19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[j]) |
0 ปี 136 วัน | สังคมใหม่ | ||
13 | แบงก์ เซียร์เตอร์ (ฺBank Searter) (2469–2567) |
9 | 15 | 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 9) |
8 ตุลาคม พ.ศ. 2521 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[k]) |
3 ปี 293 วัน | รวมพลังนานาชาติ | |
14 (1-3) |
พลเอก คาร์ล แพตเตอร์ (ฺCarl Patter) (2462–2555) |
10 | 16 | 8 ตุลาคม พ.ศ. 2521 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 10) |
13 สิงหาคม พ.ศ. 2524 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[l]) |
8 ปี 272 วัน | พลังอนาคต | |
11 | 17 | 13 สิงหาคม พ.ศ. 2524 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 11) |
5 ตุลาคม พ.ศ. 2528 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[m]) | |||||
12 | 18 | 5 ตุลาคม พ.ศ. 2528 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 12) |
7 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[n]) | |||||
15 (1-2) |
โคลอน โมรอนส์ค (ฺKoron Moronsk) (เกิด พ.ศ. 2477) |
13 | 19 | 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 13) |
17 สิงหาคม พ.ศ. 2534 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[o]) |
4 ปี 229 วัน | ชาติสกอตต์ | |
14 | 20 | 17 สิงหาคม พ.ศ. 2534 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 14) |
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 (รัฐประหาร) | |||||
คณะรักษาสันติภาพ (หัวหน้าคณะ: พลเอก จอร์จ เคลเตอร์) |
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 | 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 | 0 ปี 1 วัน[b] | |||||
16 | พลเอก จอร์จ เคลเตอร์ (George Kelltor) (2469−2557) |
– | 21 | 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 (มติโดยคณะปฏิวัติแห่งชาติ) |
5 มกราคม พ.ศ. 2538 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป[p]) |
2 ปี 317 วัน | คณะรักษาสันติภาพ | |
8 (4) |
ทอย มาร์ก (ฺToy Mark) (2454−2539) |
15 | 22 | 5 มกราคม พ.ศ. 2538 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 15) |
17 ตุลาคม พ.ศ. 2539 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[q] และถึงแก่อสัญกรรม) |
1 ปี 286 วัน | สังคมใหม่ | |
17 | ไมเคิล แอโรว์ (ฺMicheal Arrow) (เกิด พ.ศ. 2491) |
16 | 23 | 17 ตุลาคม พ.ศ. 2539 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 16) |
4 ธันวาคม พ.ศ. 2543 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[r]) |
4 ปี 48 วัน | ชาติประชาชน | |
18 | อิซาเบลลา เนลตัน (ฺIsabella Nellton) (เกิด พ.ศ. 2503) |
17 | 24 | 4 ธันวาคม พ.ศ. 2543 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 17) |
17 มกราคม พ.ศ. 2548 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[s]) |
6 ปี 229 วัน | พลังประชาชนสกอตต์ | |
18 | 25 | 17 มกราคม พ.ศ. 2548 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 18) |
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[t]) | |||||
19 | จอห์น แอโรว์ (ฺJohn Arrow) (เกิด พ.ศ. 2500) |
19 | 26 | 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 19) |
3 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ลาออก เนื่องจากวิกฤตการณ์การเมืองภายในประเทศ) |
1 ปี 13 วัน | ||
20 | เบน แอโรว์ (Ben Arrow) (2502–2551) |
27 | 3 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 19) |
24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 (ถูกลอบสังหาร) |
0 ปี 113 วัน | ชาติประชาชน | ||
21 | นาธาน เควสต์ (Nathan Quest) (เกิด พ.ศ. 2508) |
28 | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 19) |
29 มิถุนายน พ.ศ. 2552 (ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้พ้นจากตำแหน่ง) |
0 ปี 217 วัน | พลังประชาชนสกอตต์ | ||
22 (1-2) |
เบนจามิน คลาร์ก (ฺBenjamin Clark) (เกิด พ.ศ. 2510) |
29 | 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 19) |
23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[u]) |
4 ปี 163 วัน | แนวหน้าอนาคต | ||
20 | 30 | 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 20) |
9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[v]) | |||||
23 | โจนาธาน ซาร์ต (Jonathan Sart) (เกิด พ.ศ. 2515) |
21 | 31 | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 21) |
8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[w]) |
3 ปี 211 วัน | พลังประชาชนสกอตต์ | |
24 | โดมินิก เซนต์ (Dominic Saint) (เกิด พ.ศ. 2517) |
22 | 32 | 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 22) |
4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[x]) |
2 ปี 332 วัน | ||
25 | เมดเดอร์ลีน เอลลา (Madelyn Ella) (เกิด พ.ศ. 2529) |
23 | 33 | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 23) |
19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[y]) |
4 ปี 15 วัน | แนวหน้าอนาคต | |
26 | จูเลีย บริเอล (Julia Brielle) (เกิด พ.ศ. 2531) |
24 | 34 | 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (มติโดยรัฐสภาแห่งสกอตต์ซีแลนด์ ชุดที่ 24) |
ปัจจุบัน | 0 ปี 162 วัน | พลังประชาชนสกอตต์ |
เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2480
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี
- ↑ คณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติได้มีการประกาศการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2488 โดยให้มีจัดการเลือกตั้งในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2492
- ↑ คณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติได้มีการประกาศการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 โดยให้มีจัดการเลือกตั้งในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2497
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2501
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2504 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2504
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2504
- ↑ คณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติได้มีการประกาศการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 โดยให้มีจัดการเลือกตั้งในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2513
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2517
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2521 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2521
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2524
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2528
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2530
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2534
- ↑ คณะรักษาสันติภาพได้มีการประกาศการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 โดยให้มีจัดการเลือกตั้งในวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2537
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2539 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2539
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2547
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2550
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2552 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2560
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2567
Super-Sealand Prime Minister (Since 1988)
[แก้]- นายกรัฐมนตรีจากผลของรัฐประหาร
- ผู้รักษาการแทนรัฐมนตรี
- คณะรัฐประหาร
ลำดับ (สมัยที่) |
ชื่อ | รัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ (ชุดที่) |
คณะรัฐมนตรีซูเปอร์ซีแลนด์ (คณะที่) |
การดำรงตำแหน่ง | พรรคการเมือง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มวาระ (เริ่มต้นโดย) |
สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ระยะเวลา | ||||||
1 | พลเอก ทอม แอนดรูว์ (Tom Andrew) (2451−2560) |
– | 1 | 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 (มติของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งชาติ) |
4 กันยายน พ.ศ. 2531 (ลาออก) |
0 ปี 94 วัน | คอมมิวนิสต์แห่งชาติ | |
2 | เจมส์ เซบาสเตียน (ฺJames Sebastian) (2455−2545) |
2 | 4 กันยายน พ.ศ. 2531 (มติของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งชาติ) |
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 (ลาออก เนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ) |
1 ปี 260 วัน | |||
3 | ทอม คาร์ล (ฺTom Carl) (เกิด พ.ศ. 2473) |
3 | 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 (มติของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งชาติ) |
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 (รัฐประหาร) |
1 ปี 275 วัน | |||
คณะปฎิวัติแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: พลเอก กาเบรียล เทมส์) |
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 | 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 | 0 ปี 6 วัน[a] | |||||
4 | พลเอก กาเบรียล เทมส์ (Gabriel Tems) (เกิด พ.ศ. 2480) |
– | 4 | 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 (มติโดยคณะปฎิวัติแห่งชาติ) |
4 มิถุนายน พ.ศ. 2536 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป[b]) |
1 ปี 97 วัน | คณะปฎิวัติแห่งชาติ | |
5 | เจย์เดน ดอมส์ (Jayden Doms) (เกิด พ.ศ. 2493) |
1 | 5 | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2536 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 1) |
7 สิงหาคม พ.ศ. 2538 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[c]) |
2 ปี 64 วัน | พัฒนาสังคม | |
6 | เวสลีย์ แซนส์ (Wesley Saens) (เกิด พ.ศ. 2489) |
2 | 6 | 7 สิงหาคม พ.ศ. 2538 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 2) |
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 (ลาออก เนื่องจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจภายในประเทศ ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[d]) |
2 ปี 279 วัน | รวมชนชาติ | |
– | จอห์น เมสต์ (John Mest) (เกิด พ.ศ. 2499) |
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 (นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง) |
13 มิถุนายน พ.ศ. 2541 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 31 วัน (รักษาการนายกรัฐมนตรี) |
อิสระ | |||
7 (1-2) |
จอร์แดน ทิมเนอร์ (Jordan Timner) (เกิด พ.ศ. 2476) |
3 | 7 | 13 มิถุนายน พ.ศ. 2541 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 3) |
7 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[e]) |
8 ปี 61 วัน | พลังประชาชนแห่งชาติ | |
4 | 8 | 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 4) |
13 สิงหาคม พ.ศ. 2549 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[f]) | |||||
8 | เดเมียน อาร์กอน (Damian Argon) (เกิด พ.ศ. 2491) |
5 | 9 | 13 สิงหาคม พ.ศ. 2549 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 5) |
7 มีนาคม พ.ศ. 2552 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[g]) |
2 ปี 206 วัน | ||
9 (1) |
แมดด็อกซ์ เมนส์ (Maddox Maines) (เกิด พ.ศ. 2506) |
6 | 10 | 7 มีนาคม พ.ศ. 2552 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 6) |
23 ธันวาคม พ.ศ. 2554 (ลาออก เนื่องจากอุทกภัยภายในประเทศ ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[h]) |
2 ปี 291 วัน | ก้าวหน้า | |
– | จัสติน ดอว์สัน (Justin Dawson) (เกิด พ.ศ. 2513) |
23 ธันวาคม พ.ศ. 2554 (นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง) |
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 53 วัน (รักษาการนายกรัฐมนตรี) | ||||
9 (2) |
แมดด็อกซ์ เมนส์ (Maddox Maines) (เกิด พ.ศ. 2491) |
7 | 11 | 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 7) |
3 มีนาคม พ.ศ. 2556 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[i]) |
1 ปี 17 วัน | ||
10 | ลิเลียน เพสลีย์ (Lillian Paisley) (เกิด พ.ศ. 2523) |
8 | 12 | 3 มีนาคม พ.ศ. 2556 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 7) |
27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[j]) |
2 ปี 269 วัน | อนาคตประชาชน | |
11 | โจซี เอเมอร์ซิน (Josie Emersyn) (เกิด พ.ศ. 2524) |
9 | 13 | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 8) |
18 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[k]) |
3 ปี 264 วัน | ก้าวหน้า | |
12 | เอ็ดเวิร์ด กริฟฟิน (Edward Griffin) (เกิด พ.ศ. 2522) |
10 | 14 | 18 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 9) |
2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[l]) |
1 ปี 349 วัน | อนาคตประชาชน | |
13 | เอสเธอร์ เจนีเวีย (Esther Genevieve) (เกิด พ.ศ. 2526) |
11 | 15 | 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 (มติโดยรัฐสภาแห่งซูเปอร์ซีแลนด์ ชุดที่ 10) |
16 ตุลาคม พ.ศ. 2566 (รัฐประหาร) |
2 ปี 75 วัน | ||
คณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: พลเอก เรมิงตัน คาเลบ) |
16 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 | 0 ปี 39 วัน[m] | |||||
14 | พลเอก เรมิงตัน คาเลบ (Remington Kaleb) (เกิด พ.ศ. 2509) |
– | 16 | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 (มติโดยคณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติ) |
10 เมษายน พ.ศ. 2567 (ศาลรัฐธรรมนูญแห่งซูเปอร์ซีแลนดฺ์วินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง[n]) |
0 ปี 177 วัน | คณะปฏิรูปการปกครองแห่งชาติ | |
– | เกรย์สัน มาร์กส์ (Grayson Marks) (เกิด พ.ศ. 2513) |
10 เมษายน พ.ศ. 2567 (นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) |
15 เมษายน พ.ศ. 2567 (ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี) |
0 ปี 5 วัน (รักษาการนายกรัฐมนตรี) |
อิสระ | |||
15 | 17 | 15 เมษายน พ.ศ. 2567 (มติโดยสภานิติบัญญัติแห่งซูเปอร์ซีแลนด์) |
ปัจจุบัน | 0 ปี 227 วัน |
เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี
- ↑ คณะปฎิวัติแห่งชาติได้มีการประกาศการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 โดยให้มีจัดการเลือกตั้งในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2536
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2541
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2549
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2552
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2555
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2558 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2562
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2564 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
- �� ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐซีแลนด์วินิจฉัยให้เรมิงตัน คาเลบ พ้นจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2567 เนื่องจากการมีการทุจริตในโครงการกองทัพขณะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกของซูเปอร์ซีแลนด์ และตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี
Marcon
[แก้]ลำดับ (สมัย) |
รูป | ชื่อ (เกิด−เสียชีวิต) |
รัฐสภามาร์กอน (ชุดที่) |
คณะรัฐมนตรีมาร์กอน (คณะที่) |
การดำรงตำแหน่ง | พรรคการเมือง | กษัตริย์ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มวาระ (เริ่มต้นโดย) |
สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ระยะเวลา | ||||||||
1 | ริโอ อิกนาซิโอ (Rio Ignacio) (2301−2388) |
– | 1 | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2358 (มติของคณะหลอมรวมชาติ) |
7 มกราคม พ.ศ. 2361 (ลาออกจากตำแหน่ง) |
2 ปี 177 วัน | คณะหลอมรวมชาติ | พระราชาธิบดีราฟาเอล (2358–2388) | ||
2 | อิกนาซิโอ เอมิลิโอ (Ignacio Emilio) (2320−2401) |
– | 2 | 7 มกราคม พ.ศ. 2361 (มติของคณะหลอมรวมชาติ) |
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 (ลาออกจากตำแหน่งตามคำสั่งคณะรัฐประหารและการยุบคณะหลอมรวมชาติ) |
1 ปี 126 วัน | ||||
คณะปฎิวัติมาร์กอน (หัวหน้าคณะ: จอมพล เลอันโดร เอไซ) |
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 | 29 สิงหาคม พ.ศ. 2362 | 0 ปี 108 วัน[a] | |||||||
3 (1-3) |
จอมพล เลอันโดร เอไซ (Ignacio Emilio) (2310−2375) |
– | 3 | 29 สิงหาคม พ.ศ. 2362 (มติของคณะปฎิวัติมาร์กอน) |
7 สิงหาคม พ.ศ. 2369 (ประกาศจัดการเลือกตั้งทั่วไป[b]) |
12 ปี 359 วัน | คณะปฎิวัติมาร์กอน (กองทัพ) | |||
1 | 4 | 7 สิงหาคม พ.ศ. 2369 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 1) |
12 กันยายน พ.ศ. 2373 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[c]) |
อิสระ | ||||||
2 | 5 | 12 กันยายน พ.ศ. 2373 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 2) |
22 สิงหาคม พ.ศ. 2375 (ถึงแก่อสัญกรรม) | |||||||
ระหว่างนี้ วาคิน มาร์เชลโล รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี |
22 สิงหาคม พ.ศ. 2375 (นายกรัฐมนตรีถึงแก่อสัญกรรม) |
3 กันยายน พ.ศ. 2375 (ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี) |
0 ปี 12 วัน (รักษาการ) |
เสรีรัฐธรรมนูญ | ||||||
4 | วาคิน มาร์เชลโล (Joaquin Marcello) (2320−2379) |
6 | 3 กันยายน พ.ศ. 2375 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 2) |
16 มิถุนายน พ.ศ. 2377 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[d]) |
1 ปี 286 วัน | |||||
5 | อเลอันโดร ฮวน (Alejandro Juan) (2340−2404) |
3 | 7 | 16 มิถุนายน พ.ศ. 2377 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 3) |
2 สิงหาคม พ.ศ. 2381 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[e]) |
4 ปี 47 วัน | เสรีนิยมมาร์กอน | |||
6 | ฮวน อัลบาโร (Juan Alvaro) (2335–2388) |
4 | 8 | 2 สิงหาคม พ.ศ. 2381 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 4) |
7 ตุลาคม พ.ศ. 2385 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[f]) |
4 ปี 66 วัน | เสรีรัฐธรรมนูญ | |||
7 | โฮเซ มาร์เชลโล (Jose Marcello) (2348–2440) |
5 | 9 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2385 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 5) |
12 สิงหาคม พ.ศ. 2387 (ลาออก เนื่องจากเกิดสงครามกลางเมืองมาร์กอน) |
1 ปี 310 วัน | ||||
8 | โฮเซ คาร์เมน (Jose Carmen) (2348–2440) |
10 | 12 สิงหาคม พ.ศ. 2387 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 5) |
19 ตุลาคม พ.ศ. 2388 (ถูกสังหารโดยคณะรัฐประหาร) |
1 ปี 68 วัน | เสรีนิยมมาร์กอน | ||||
คณะปฎิวัติมาร์กอนที่สอง (หัวหน้าคณะ: พลเอก ปาโบล ลูซิโอ) |
19 ตุลาคม พ.ศ. 2388 | 15 มกราคม พ.ศ. 2390 | 1 ปี 88 วัน[a] | ว่าง[g] | ||||||
9 | พลเอก ปาโบล ลูซิโอ (Pablo Lucio) (2330–2419) |
– | 11 | 15 มกราคม พ.ศ. 2390 (มติของคณะปฎิวัติมาร์กอนที่สอง) |
19 เมษายน พ.ศ. 2393 ([h]) |
3 ปี 94 วัน | คณะปฎิวัติมาร์กอนที่สอง (กองทัพ) |
สมเด็จพระราชาธิบดีลูซิโอที่ 2 (2388–2457) | ||
10 | เฮลิโอ มาติอัส (Helio Matias) (2354–2431) |
6 | 12 | 19 เมษายน พ.ศ. 2393 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 6) |
17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2395 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[i]) |
1 ปี 304 วัน | เสรีนิยมมาร์กอน | |||
11 (1-2) |
มิเกล ฮาเวียร์ (Miguel Javier) (2341–2412) |
7 | 13 | 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2395 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 7) |
16 พฤษภาคม พ.ศ. 2399 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[j]) |
7 ปี 247 วัน | รัฏฐาธิปัตย์แห่งชาติ | |||
8 | 14 | 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2399 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 8) |
22 ตุลาคม พ.ศ. 2402 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[k]) | |||||||
12 | มิเกล การ์เมน (Miguel Carmen) (2354–2433) |
9 | 15 | 22 ตุลาคม พ.ศ. 2402 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 9) |
13 สิงหาคม พ.ศ. 2405 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[l]) |
2 ปี 295 วัน | เสรีนิยมมาร์กอน | |||
13 | อัลบาโร การ์เมน (Alvaro Carmen) (2351–2470) |
10 | 16 | 13 สิงหาคม พ.ศ. 2405 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 10) |
7 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 (รัฐประหาร) |
2 ปี 328 วัน | รัฏฐาธิปัตย์แห่งชาติ | |||
คณะปฎิวัติมาร์กอนที่สอง (หัวหน้าคณะ: พลเอก โฮเซ จาโก เลอันโดร) |
7 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 | 12 สิงหาคม พ.ศ. 2408 | 0 ปี 36 วัน[a] | |||||||
14 | จูเนียร์ จาโก เลอันโดร (๋Junior Jago Leandro) (2367–2442) |
– | 17 | 12 สิงหาคม พ.ศ. 2408 (มติของสภาคณะประชาชน) |
23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2413 (ลาออก) |
5 ปี 103 วัน | อิสระ | |||
15 | อลองโซ เซอร์จิโอ (Alonzo Sergio) (2355–2451) |
18 | 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2413 (มติของสภาคณะประชาชน) |
6 มิถุนายน พ.ศ. 2415 (ประกาศพระราชกฤษฎีกาให้จัดเลือกตั้ง[m]) |
1 ปี 184 วัน | |||||
16 | จอห์น เซอร์จิโอ (John Sergio) (2382–2466) |
11 | 19 | 6 มิถุนายน พ.ศ. 2415 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 11) |
30 กันยายน พ.ศ. 2415 (ถูกเพิกถอนสิทธิทางการเมือง 5 ปี[n]) |
0 ปี 128 วัน | ชาติมาตุภูมิ | |||
ระหว่างนี้ บาสเตียน อิชมาเอล รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี |
30 กันยายน พ.ศ. 2415 (นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) |
24 ตุลาคม พ.ศ. 2415 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 24 วัน (รักษาการ) |
อิสระ | ||||||
17 | พลตรี ปาโบล บาสเตียน (Pablo Bastien) (2349–2418) |
20 | 24 ตุลาคม พ.ศ. 2415 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 11) |
22 มกราคม พ.ศ. 2418 (ลาออก เนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ) |
2 ปี 90 วัน | สหพันธ์เหลือง | ||||
ระหว่างนี้ บาสเตียน อิชมาเอล รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี |
22 มกราคม พ.ศ. 2418 (นายกรัฐมนตรีลาออก) |
30 มกราคม พ.ศ. 2418 (ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี) |
0 ปี 8 วัน (รักษาการ) | |||||||
18 (1) |
บาสเตียน อิชมาเอล (Bastien Ishmael) (2370–2458) |
21 | 30 มกราคม พ.ศ. 2418 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 11) |
30 กรกฎาคม พ.ศ. 2419 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[o]) |
1 ปี 182 วัน | |||||
19 | โฮเซ นิโล (John Sergio) (2383–2488) |
12 | 22 | 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2419 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 12) |
7 มีนาคม พ.ศ. 2423 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[p]) |
3 ปี 221 วัน | ชาติก้าวหน้า | |||
18 (2) |
บาสเตียน อิชมาเอล (Bastien Ishmael) (2370–2458) |
13 | 23 | 7 มีนาคม พ.ศ. 2423 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 13) |
14 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[q]) |
4 ปี 68 วัน | สหพันธ์เหลือง | |||
20 | กาโย ซัลวาดอร์ (Cayo Salvador) (2389–2452) |
14 | 24 | 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 14) |
5 สิงหาคม พ.ศ. 2430 (รัฐประหาร) |
3 ปี 83 วัน | รวมสวัสดิการ | |||
คณะปฏิรูปประชาชนมาร์กอน (หัวหน้าคณะ: จอมพล ฮวน เปโดร ซิลวิโอ) |
5 สิงหาคม พ.ศ. 2430 | 13 กันยายน พ.ศ. 2430 | 0 ปี 39 วัน[a] | |||||||
21 | จอมพล ฮวน เปโดร ซิลวิโอ (Juan Pedro Silvio) (2384–2453) |
– | 25 | 13 กันยายน พ.ศ. 2430 (มติของคณะปฏิรูปประชาชนมาร์กอน) |
21 ธันวาคม พ.ศ. 2453 (ถึงแก่อสัญกรรม) |
23 ปี 99 วัน | คณะปฏิรูปประชาชนมาร์กอน (กองทัพ) | |||
ระหว่างนี้ เปโดร เฟลิเป รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี |
21 ธันวาคม พ.ศ. 2453 (นายกรัฐมนตรีถึงแก่อสัญกรรม) |
19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454 (ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี) |
0 ปี 60 วัน (รักษาการ) |
อิสระ | ||||||
22 | เปโด��� เฟลิเป (Pedro Felipe) (2406–2494) |
26 | 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454 (มติของคณะปฏิรูปประชาชนมาร์กอน) |
4 มีนาคม พ.ศ. 2456 (ประกาศพระราชกฤษฎีกาให้จัดเลือกตั้ง[r]) |
2 ปี 13 วัน | |||||
23 | ซานติ บาสเตียน (Santi Bastien) (2418–2479) |
15 | 27 | 4 มีนาคม พ.ศ. 2456 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 15) |
16 ธันวาคม พ.ศ. 2458 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[s]) |
2 ปี 287 วัน | โครงการสังคมนิยม | |||
24 | ซัลวาดอร์ เบนิซิโอ (Salvador Benicio) (2418–2479) |
16 | 28 | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2458 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 16) |
17 มกราคม พ.ศ. 2462 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[t]) |
3 ปี 32 วัน | สมเด็จพระเจ้าเซซาร์ที่ 3 (2457–2526) | |||
25 | เซซาร์ ซิลวิโอ (Cesar Silvio) (2422–2521) |
17 | 29 | 17 มกราคม พ.ศ. 2462 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 17) |
7 เมษายน พ.ศ. 2466 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[u]) |
4 ปี 80 วัน | ||||
26 | บาดิโอ กีเยร์โม (Badio Guillermo) (2426–2510) |
18 | 30 | 7 เมษายน พ.ศ. 2466 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 18) |
31 สิงหาคม พ.ศ. 2469 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[v]) |
3 ปี 146 วัน | ||||
27 | กิล กีเยร์โม (Gil Guillermo) (2430–2533) |
19 | 31 | 31 สิงหาคม พ.ศ. 2469 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 19) |
7 ธันวาคม พ.ศ. 2474 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป และรัฐประหาร[w]) |
5 ปี 98 วัน | ||||
คณะต่อต้านคอมมิวนิสต์แห่งชาติ (หัวหน้าคณะ: จอมพล เอนริเก เอดูอาร์โด) |
7 ธันวาคม พ.ศ. 2474 | 29 มิถุนายน พ.ศ. 2477 | 2 ปี 204 วัน[a] | |||||||
28 | จอมพล เอนริเก เอดูอาร์โด (Enrique Eduardo) (2417–2490) |
– | 32 | 29 มิถุนายน พ.ศ. 2477 (มติของสภานิติบัญญัติปฏิรูป) |
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 (ประกาศพระราชกฤษฎีกาให้จัดเลือกตั้ง[x]) |
7 ปี 229 วัน | คณะต่อต้านคอมมิวนิสต์แห่งชาติ (อิสระ) | |||
29 (1-2) |
มาริโอ ออคตาบิโอ (Mario Octavio) (2444–2533) |
20 | 33 | 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 20) |
10 เมษายน พ.ศ. 2489 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[y]) |
6 ปี 203 วัน | พลังประชาชาติ | |||
21 | 34 | 10 เมษายน พ.ศ. 2489 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 21) |
3 กันยายน พ.ศ. 2491 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[z]) | |||||||
30 | อาร์โล เอสเตบัน (Arlo Esteban) (2457–2536) |
22 | 35 | 3 กันยายน พ.ศ. 2491 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 22) |
19 ตุลาคม พ.ศ. 2495 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[aa]) |
4 ปี 46 วัน | พลังประชานิยม | |||
31 | คาร์เมโล อิซายาส (Carmelo Isaias) (2460–2541) |
23 | 36 | 19 ตุลาคม พ.ศ. 2495 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 23) |
10 กันยายน พ.ศ. 2499 (รัฐประหาร) |
3 ปี 327 วัน | ||||
คณะรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ (หัวหน้าคณะ: พลเอก อิซายัส มิโน) |
10 กันยายน พ.ศ. 2499 | 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 | 0 ปี 299 วัน[a] | |||||||
32 | พลเอก อิซายัส มิโน (Isaias Mino) (2442–2521) |
– | 37 | 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 (มติของสภานิติบัญญัติปฏิรูปที่สอง) |
19 กันยายน พ.ศ. 2506 (รัฐประหาร) |
6 ปี 75 วัน | คณะรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ (กองทัพ) | |||
คณะปฏิรูปพลเรือน (หัวหน้าคณะ: พลตรี วิเซนเต เคลาดิโอ) |
19 กันยายน พ.ศ. 2506 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2506 | 0 ปี 18 วัน[a] | |||||||
33 | แม็กซิโม มิโน (Maximo Mino) (2471–2554) |
– | 38 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2506 (มติของคณะปฏิรูปพลเรือน) |
30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 (ประกาศพระราชกฤษฎีกาให้จัดเลือกตั้ง[ab]) |
2 ปี 72 วัน | อิสระ | |||
34 | เรย์ มาเซโอ (Rey Maceo) (2472–2546) |
24 | 39 | 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 24) |
7 กันยายน พ.ศ. 2511 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ac]) |
2 ปี 282 วัน | พลังประชาชาติ | |||
35 (1-2) |
พลโท อัลฟองโซ นาโช (Alfonso Nacho) (2468–2549) |
25 | 40 | 7 กันยายน พ.ศ. 2511 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 25) |
15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ad]) |
6 ปี 214 วัน | พลังประชานิยม | |||
26 | 41 | 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 26) |
9 เมษายน พ.ศ. 2518 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ae]) | |||||||
36 | พลตรี วิเซนเต เคลาดิโอ (Vicente Claudio) (2454–2527) |
27 | 42 | 9 เมษายน พ.ศ. 2518 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 27) |
18 ตุลาคม พ.ศ. 2520 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[af]) |
2 ปี 192 วัน | ปฏิรูปพลเรือน | |||
37 | โอโร เคลาดิโอ กอร์โดแวน (Oro Claudio Cordovan) (เกิด พ.ศ. 2478) |
28 | 43 | 18 ตุลาคม พ.ศ. 2520 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 28) |
6 กันยายน พ.ศ. 2522 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ag]) |
1 ปี 323 วัน | พลังประชานิยม | |||
38 (1-2) |
กอร์โดบา พรอสเปโร (Cordoba Prospero) (เกิด พ.ศ. 2483) |
29 | 44 | 6 กันยายน พ.ศ. 2522 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 29) |
16 ตุลาคม พ.ศ. 2526 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ah]) |
6 ปี 142 วัน | ก้าวหน้าใหม่ | |||
30 | 45 | 16 ตุลาคม พ.ศ. 2526 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 30) |
12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ai]) |
สมเด็จพระราชินีมอนทานาที่ 2 (2526–2562) | ||||||
39 | ลูเซีย มอนทานา (Lucía Montana) (เกิด พ.ศ. 2492) |
31 | 46 | 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 31) |
7 เมษายน พ.ศ. 2533 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[aj]) |
4 ปี 71 วัน | ||||
40 | เมาริซิโอ ดิอาโก (Mauricio Diago) (เกิด พ.ศ. 2495) |
32 | 47 | 7 เมษายน พ.ศ. 2533 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 32) |
6 สิงหาคม พ.ศ. 2536 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ak]) |
3 ปี 121 วัน | มาร์กอนเท่าเทียม | |||
41 | ดิอาโก โรแบร์โต (Diago Roberto) (เกิด พ.ศ. 2501) |
33 | 48 | 6 สิงหาคม พ.ศ. 2536 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 33) |
2 สิงหาคม พ.ศ. 2539 (รัฐประหาร) |
2 ปี 362 วัน | ก้าวหน้าใหม่ | |||
สภาความมั่นคง (หัวหน้าคณะ: พลเอก โรแบร์โต ฟิเดล แม็กซิมิเลียโน) |
2 สิงหาคม พ.ศ. 2539 | 13 ตุลาคม พ.ศ. 2539 | 0 ปี 72 วัน[a] | |||||||
42 (1-2) |
พลเอก โรแบร์โต ฟิเดล แม็กซิมิเลียโน (Roberto Fidel Maximiliano) (เกิด พ.ศ. 2479) |
– | 49 | 13 ตุลาคม พ.ศ. 2539 (มติของสภาความมั่นคง) |
14 ธันวาคม พ.ศ. 2540 (ประกาศพระราชกฤษฎีกาให้จัดเลือกตั้ง[al]) |
2 ปี 239 วัน | สภาความมั่นคง (กองทัพ) | |||
34 | 50 | 14 ธันวาคม พ.ศ. 2540 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 34) |
9 มิถุนายน พ.ศ. 2542 (ลาออก เนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ) |
อิสระ | ||||||
ระหว่างนี้ มิโร อัลฟอนซัส รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี |
9 มิถุนายน พ.ศ. 2542 (นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง) |
17 มิถุนายน พ.ศ. 2542 (ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี) |
0 ปี 8 วัน (รักษาการ) |
พลังประชานิยม | ||||||
41 | เนวาดา มิโร (Nevada Miró) (เกิด พ.ศ. 2503) |
51 | 17 มิถุนายน พ.ศ. 2542 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 34) |
19 กันยายน พ.ศ. 2543 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[am]) |
1 ปี 94 วัน | ก้าวหน้าใหม่ | ||||
42 (1-2) |
มาร์กอส อาร์เซนิโอ (Marcos Arsenio) (เกิด พ.ศ. 2510) |
35 | 52 | 19 กันยายน พ.ศ. 2543 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 35) |
23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[an]) |
7 ปี 346 วัน | เสรีนิยมประชาธิปไตย | |||
36 | 53 | 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 36) |
30 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ao]) | |||||||
41 | เปเรซ ซานตานา (Perez Santana) (เกิด พ.ศ. 2511) |
37 | 54 | 30 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 37) |
4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[ap]) |
1 ปี 158 วัน | สิ่งแวดล้อมใหม่ | |||
42 | ซูรามอน เคลเมนเต (Zuramon Clemente) (2494–2558) |
38 | 55 | 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 38) |
14 มีนาคม พ.ศ. 2557 (สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป[aq]) |
5 ปี 106 วัน | ก้าวหน้าใหม่ | |||
39 | 56 | 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 39) |
21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 (ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป และถึงแก่อสัญกรรม[ar]) | |||||||
ระหว่างนี้ มิโร อัลฟอนซัส รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี |
21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 (นายกรัฐมนตรีถึงแก่อสัญกรรม) |
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
0 ปี 41 วัน (รักษาการ) |
สิ่งแวดล้อมใหม่ | ||||||
43 | เอมิเลีย คริสโตบัล (Emilia Cristóbal) (เกิด พ.ศ. 2522) |
40 | 57 | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 40) |
8 สิงหาคม พ.ศ. 2561 (รัฐประหาร) |
3 ปี 38 วัน | เสรีนิยมประชาธิปไตย | |||
คณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์กอน (หัวหน้าคณะ: พลเอก โรลันโด เอเซเกียล) |
8 สิงหาคม พ.ศ. 2561 | 12 กันยายน พ.ศ. 2561 | 0 ปี 36 วัน[a] | |||||||
44 | พลเอก โรลันโด เอเซเกียล (Rolando Ezequiel) (เกิด พ.ศ. 2501) |
– | 58 | 12 กันยายน พ.ศ. 2561 (มติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) |
2 กันยายน พ.ศ. 2567 (ประกาศคณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์กอนให้จัดเลือกตั้ง[as]) |
5 ปี 356 วัน | คณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์กอน (กองทัพ) |
สมเด็จพระราชาธิบดีเอสมาเอลที่ 2 (ตั้งแต่ 2562) | ||
45 | ไซมอน เฮนรี (Simon Henry) (เกิด พ.ศ. 2528) |
41 | 59 | 2 กันยายน พ.ศ. 2567 (มติของรัฐสภามาร์กอน ชุดที่ 41) |
ปัจจุบัน | 0 ปี 87 วัน | เสรีนิยมประชาธิปไตย |
เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี
- ↑ คณะปฎิวัติมาร์กอนได้มีการประกาศการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2369 โดยให้มีจัดการเลือกตั้งในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2369
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไประหว่างวันที่ 12–30 สิงหาคม พ.ศ. 2373
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2377 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2377
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2381
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2385
- ↑ คณะปฎิวัติมาร์กอนที่สองได้มีการออกคำสั่งฉบับที่ 5/1845 โดยมีคำสั่งให้ยกเลิกระบอบกษัตริย์เป็นการชั่วคราว
- ↑ คณะปฎิวัติมาร์กอนได้มีการประกาศการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2393 โดยให้มีจัดการเลือกตั้งในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2393
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2395 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2395
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2399
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2395 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2395
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2405 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2405
- ↑ พระราชกฤษฎีกามีการประกาศให้จัดเลือกตั้งในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2415
- ↑ ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการตัดสินในความผิดการทุจริตซึ่งเป็นจำนวน 5,000 เปโซมาร์กอน (56,125 มาร์กอนหรือ 21,734.25 ดอลลาร์ในปัจจุบัน) ระหว่างการหาเสียงเลือกตั้ง และพรรคการเมืองของเขาได้ถูกยุบ
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2419
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2423 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2423
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2427
- ↑ พระราชกฤษฎีกามีการประกาศให้จัดเลือกตั้งในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2458
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2461 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2462
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2466
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2469
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2473 อย่างไรก็ตาม การเลือกตั้งเป็นโมฆะ เนื่องจากมีคำสั่งตามศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2474 ว่าการเลือกตั้งดังกล่าวไม่สามารถทำได้อย่างสมบูรณ์ภายในวันเลือกตั้ง
- ↑ พระราชกฤษฎีกามีการประกาศให้จัดเลือกตั้งในวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2485
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2489
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2491
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2495
- ↑ พระราชกฤษฎีกามีการประกาศให้จัดเลือกตั้งในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2511
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2518
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2520 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2520
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2522 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2522
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2526
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2528 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2529
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2533
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2536 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2536
- ↑ พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 58/1997 ลงวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540) มีการประกาศให้จัดเลือกตั้งในวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2536 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2543
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2547
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2551
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553
- ↑ จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
- ↑ ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 และจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2558
- ↑ คณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์กอนมีการประกาศให้จัดเลือกตั้งในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2567
Earnearn Metro Governor
[แก้]
ลำดับ (สมัย) |
รูป | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
สภามหานคร (ชุดที่) |
การดำรงตำแหน่ง | พรรคการเมือง | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มวาระ (เริ่มต้นโดย) |
สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ระยะเวลา | ||||||
1 | แฟรงคลิน แลนดอน (Franklin Landon) (2459–2512) |
1 | 13 สิงหาคม พ.ศ. 2502 (จัดตั้งมหานครพิม และมติโดยสำนักประธานาธิบดีซีแลนด์) |
7 มกราคม พ.ศ. 2505 (จัดการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2505) |
2 ปี 147 วัน | อิสระ | ||
2 | เจมสัน ดาเมียน (Jameson Damian) (2463–2542) |
2 | 7 มกราคม พ.ศ. 2505 (ชนะการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2505) |
6 ธันวาคม พ.ศ. 2507 (ลาออก) |
2 ปี 334 วัน | ฟรีซีแลนด์ | ||
ระหว่างนี้ เพโดร แฮริสัน รักษาราชการแทน |
6 ธันวาคม พ.ศ. 2507 (ผู้ว่าราชการฯ ลาออกจากตำแหน่ง) |
12 มกราคม พ.ศ. 2508 (จัดการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2508) |
0 ปี 37 วัน (รักษาการ) |
อิสระ | ||||
3 (1-2) |
เพโดร แฮริสัน (Pedro Harrison) (2462–2528) |
3 | 12 มกราคม พ.ศ. 2508 (ชนะการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2505) |
14 มกราคม พ.ศ. 2511 (ครบวาระการดำรงตำแหน่ง และจัดการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2511) |
5 ปี 139 วัน | ซีแลนด์เนชัน | ||
4 | 14 มกราคม พ.ศ. 2511 (ชนะการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2511) |
31 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 (ยุบสภามหานคร และจัดการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2513) | ||||||
4 | วอลต์ตัน เจมส์ (Walton James) (เกิด พ.ศ. 2476) |
5 | 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 (ชนะการเลือกตั้งผู้ว่าราชการฯ พ.ศ. 2513) |
4 มีนาคม พ.ศ. 2516 (ลาออก) |
2 ปี 277 วัน | พาวเวอร์สออฟพีเพิล | ||
5 | วินเซนต์ คาร์ลอส (Vincent Carlos) (2473–2558) |
4 มีนาคม พ.ศ. 2516 (มติโดยสภามหานคร ชุดที่ 5) |
4 มีนาคม พ.ศ. 2516 (ลาออก) |
2 ปี 277 วัน |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2540
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
เชฟ เจอร์ก เบนสต์ | ออลซีแลนด์ | 39 | - | 85 | - | 124 |
เพื่อประชาชน | 70 | - | - | - | 70 | |
เดโมแครตซีแลนด์ | - | 54 | - | - | 54 | |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | 53 | - | - | - | 53 | |
นิวพาวเวอร์ส | 39 | - | - | - | 39 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | 27 | - | - | - | 27 | |
ประชานิยมซีแลนด์ | - | 21 | - | 2 | 23 | |
ยูไนเต็ดฟิวเจอร์ | 10 | - | - | - | 10 | |
รวม | 238 | 75 | 85 | 2 | 400 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2543
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
เชฟ เจอร์ก เบนสต์ | ออลซีแลนด์ | 39 | - | 85 | - | 124 |
เพื่อประชาชน | 70 | - | - | - | 70 | |
เดโมแครตซีแลนด์ | - | 54 | - | - | 54 | |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | 53 | - | - | - | 53 | |
นิวพาวเวอร์ส | 39 | - | - | - | 39 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | 27 | - | - | - | 27 | |
ประชานิยมซีแลนด์ | - | 21 | - | 2 | 23 | |
ยูไนเต็ดฟิวเจอร์ | 10 | - | - | - | 10 | |
รวม | 238 | 75 | 85 | 2 | 400 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2544
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
จูเลียน สตอร์ม | ออลซีแลนด์ | 121 | - | 1 | 2 | 124 |
เพื่อประชาชน | 70 | - | - | - | 70 | |
เดโมแครตซีแลนด์ | 39 | - | 10 | 5 | 54 | |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | 4 | - | 49 | - | 53 | |
นิวพาวเวอร์ส | - | 11 | 19 | 9 | 39 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | - | - | 27 | - | 27 | |
ประชานิยมซีแลนด์ | 21 | - | - | 2 | 23 | |
ยูไนเต็ดฟิวเจอร์ | 10 | - | - | - | 10 | |
รวม | 265 | 11 | 106 | 18 | 400 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2551
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]พรรคการเมือง | คลาร์ก เวสต์เตอร์ (ออลซีแลนด์) |
เจมส์ มาร์กเตอร์ (นิวโซเชียลซีแลนด์) |
งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ออลซีแลนด์ | 135 | - | 1 | - | 136 |
นิวพาวเวอร์ส | - | 64 | 5 | 4 | 73 |
เพื่อประชาชน | 72 | - | - | - | 72 |
เดโมแครตซีแลนด์ | 57 | - | - | 2 | 59 |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | - | 32 | - | 3 | 35 |
ประชานิยมซีแลนด์ | 16 | - | - | - | 16 |
โซเชียลพาวเวอร์ | - | 9 | - | - | 9 |
รวม | 280 | 105 | 6 | 9 | 400 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2553
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]พรรคการเมือง | คลาร์ก เวสต์เตอร์ (ออลซีแลนด์) |
เจมส์ มาร์กเตอร์ (นิวโซเชียลซีแลนด์) |
งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ออลซีแลนด์ | 142 | - | 1 | - | 143 |
นิวพาวเวอร์ส | - | 89 | - | - | 89 |
โซเชียลพาวเวอร์ | - | 73 | - | - | 73 |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | - | 51 | - | - | 51 |
เดโมแครตซีแลนด์ | 31 | - | - | 1 | 32 |
ประชานิยมซีแลนด์ | 26 | - | - | - | 26 |
เพื่อประชาชน | 12 | 3 | 1 | - | 16 |
รวม | 211 | 216 | 2 | 1 | 430 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2555
[แก้]ผลการลงมติ
[แก้]พรรคการเมือง | ไมค์ ชาร์ลส์ (ออลซีแลนด์) |
จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ (ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์) |
เจมส์ มาร์กเตอร์ (นิวโซเชียลซีแลนด์) |
งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ออลซีแลนด์ | 153 | - | - | 1 | - | 154 |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | - | 72 | - | - | - | 72 |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | - | 3 | 43 | 6 | - | 52 |
นิวพาวเวอร์ส | 17 | 12 | 23 | - | - | 52 |
เดโมแครตซีแลนด์ | 42 | 3 | - | - | - | 45 |
อีเลกชันบาร์ | 12 | 2 | 25 | - | - | 39 |
โซเชียลพาวเวอร์ | 1 | 4 | 3 | 7 | - | 15 |
ประชานิยมซีแลนด์ | 1 | - | - | - | - | 1 |
รวม | 226 | 96 | 94 | 14 | 0 | 430 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2557
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอเป็นประธานาธิบดี
[แก้]ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา | |
เจมส์ มาร์กเตอร์ | จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ |
---|---|
นิวโซเชียลซีแลนด์ | ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 12 สิงหาคม 2554) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2553) |
ผลการลงมติ
[แก้]พรรคการเมือง | เจมส์ มาร์กเตอร์ (นิวโซเชียลซีแลนด์) |
จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ (ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์) |
งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ออลซีแลนด์ | 77 | 81 | 1 | 1 | 160 |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | - | 92 | - | - | 92 |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | 69 | - | - | - | 69 |
นิวไทม์ | 14 | 20 | 1 | - | 35 |
โซเชียลพาวเวอร์ | 26 | - | - | - | 26 |
อีเลกชันบาร์ | 23 | - | - | - | 23 |
เดโมแครตซีแลนด์ | 6 | 13 | 1 | 1 | 21 |
นิวพาวเวอร์ส | 2 | - | - | - | 2 |
พลังชาวซีแลนด์ | - | 2 | - | - | 2 |
รวม | 217 | 208 | 3 | 2 | 430 |
↓ | ||||||
217 | 208 | 5 | ||||
เจมส์ มาร์กเตอร์ | จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ | งดออกเสียงและไม่ร่วมประชุม |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2558
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอเป็นประธานาธิบดี
[แก้]ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา | |
เจมส์ มาร์กเตอร์ | จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ |
---|---|
นิวโซเชียลซีแลนด์ | ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ |
ประธานาธิบดีซีแลนด์ (ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2557) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2553) |
ผลการลงมติ
[แก้]พรรคการเมือง | จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ (ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์) |
เจมส์ มาร์กเตอร์ (นิวโซเชียลซีแลนด์) |
งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | 193 | - | 1 | 1 | 195 |
ออลซีแลนด์ | 108 | - | 1 | - | 101 |
อีเลกชันบาร์ | 1 | 33 | 1 | 1 | 36 |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | - | 33 | - | 33 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | - | 15 | 2 | 3 | 20 |
เดโมแครตซีแลนด์ | 15 | - | - | - | 15 |
นิวพาวเวอร์ส | 1 | 4 | 3 | - | 8 |
นิวไทม์ | 7 | - | - | - | 7 |
ปฎิรูปซีแลนด์ | 5 | - | - | - | 5 |
พลังชาวซีแลนด์ | 2 | - | - | - | 2 |
รวม | 332 | 85 | 8 | 5 | 430 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2559
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
บาร์ลัส โวลส์ | ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | - | 195 | - | - | 195 |
ออลซีแลนด์ | - | 108 | 1 | - | 109 | |
อีเลกชันบาร์ | 36 | - | - | - | 36 | |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | 33 | - | - | - | 33 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | 17 | - | 3 | - | 20 | |
เดโมแครตซีแลนด์ | - | 15 | - | - | 15 | |
นิวพาวเวอร์ส | 8 | - | - | - | 8 | |
นิวไทม์ | - | 5 | - | 2 | 7 | |
ปฎิรูปซีแลนด์ | - | 5 | - | - | 5 | |
พลังชาวซีแลนด์ | - | 2 | - | - | 2 | |
วุฒิสภา | 306 | 43 | 1 | - | 350 | |
รวม | 400 | 373 | 5 | 2 | 780 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2561
[แก้]
| ||||||||||||||
|
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา) เกิดขึ้นหลังจากคณะกรรมการการเลือกตั้งซีแลนด์ประกาศรับรองผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ
การประชุมดังกล่าวมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเข้าร่วมประชุมจำนวน 428 คน จากจำนวนที่มีอยู่ 430 คน ร่วมกับสมาชิกวุฒิสภาที่ได้รับการแต่งตั้งอีก 350 คน รวมเป็น 778 คน ซึ่งผู้ที่จะได้รับเลือกต้องได้รับคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรัฐสภาที่มีอยู่ (390 เสียงขึ้นไป)
โดยภายในที่ประชุมเสนอชื่อบุคคลให้สมาชิกลงมติเลือกจำนวน 2 คน คือ ไอซิก พิวทิม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (พรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์) และบาร์ลัส โวลส์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (พรรคนิวโซเชียลซีแลนด์)
ชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอเป็นประธานาธิบดี
[แก้]ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา | |
บาร์ลัส โวลส์ | ไอซิก พิวทิม |
---|---|
นิวโซเชียลซีแลนด์ | ฟิวเจอร์ซีแลนด์ |
ประธานาธิบดีซีแลนด์ (ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2559) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 21 มกราคม 2561) |
ผลการลงมติ
[แก้]พรรคการเมือง | บาร์ลัส โวลส์ (นิวโซเชียลซีแลนด์) |
ไอซิก พิวทิม (ฟิวเจอร์ซีแลนด์) |
งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ฟิวเจอร์ซีแลนด์ | - | 223 | - | 1 | 224 |
ออลซีแลนด์ | - | 100 | 1 | - | 101 |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | 45 | 3 | 1 | 1 | 50 |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | - | 33 | - | 33 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | 9 | - | 1 | - | 10 |
นิวไทม์ | - | 8 | - | - | 8 |
เดโมแครตซีแลนด์ | - | 2 | - | - | 2 |
ปฎิรูปซีแลนด์ | - | 2 | - | - | 2 |
วุฒิสภา | 336 | 13 | 1 | - | 350 |
รวม | 390 | 384 | 4 | 2 | 780 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2562
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
บาร์ส ซูเมอร์ | 242 | - | 2 | 6 | 250 |
รวม | 242 | 0 | 2 | 6 | 250 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2565
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
มัวร่า เลวี | ฟิวเจอร์ซีแลนด์ | 292 | - | 1 | - | 293 |
ออลซีแลนด์ | 100 | - | 1 | - | 101 | |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | 1 | 86 | 12 | - | 99 | |
อีเลกชันบาร์ | - | 39 | 20 | 6 | 65 | |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | 55 | - | - | - | 55 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | - | 15 | 21 | 3 | 39 | |
นิวไทม์ | 17 | - | - | 2 | 19 | |
เดโมแครตซีแลนด์ | 5 | - | - | - | 5 | |
ปฎิรูปซีแลนด์ | 2 | - | - | - | 2 | |
พัฒนาเศรษฐกิจ | 2 | - | - | - | 2 | |
รวม | 474 | 137 | 55 | 11 | 680 |
การลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ พ.ศ. 2566
[แก้]กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566
[แก้]
| ||||||||||||||
|
ผลการลงมติ
[แก้]ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ | พรรคการเมือง | เห็นชอบ | ไม่เห็นชอบ | งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
มัวร่า เลวี | ฟิวเจอร์ซีแลนด์ | 274 | - | - | - | 274 |
ออลซีแลนด์ | 102 | - | 1 | - | 103 | |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | - | 53 | 36 | - | 89 | |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | 83 | - | - | - | 83 | |
อีเลกชันบาร์ | - | 62 | - | - | 62 | |
โซเชียลพาวเวอร์ | - | 12 | 21 | 3 | 36 | |
นิวไทม์ | 20 | - | - | - | 20 | |
เดโมแครตซีแลนด์ | 10 | - | - | - | 10 | |
ปฎิรูปซีแลนด์ | 2 | - | - | - | 2 | |
พัฒนาเศรษฐกิจ | 1 | - | - | - | 1 | |
รวม | 492 | 127 | 58 | 3 | 680 |
พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
[แก้]
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
ชื่อบุคคลที่ได้รับเสนอเป็นประธานาธิบดี
[แก้]ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา | |||
ทอมสัน สตาร์ตบิลดิง | ไบรอัน วิทแมน | ไมค์ บอสตัน | โอลิเวีย วิลสัน |
---|---|---|---|
ออลซีแลนด์ | แนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์[a] | นิวโซเชียลซีแลนด์ | วันฟิวเจอร์ |
รองประธานาธิบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของซีแลนด์ (2563–2565) |
ประธานาธิบดี (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2565) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ 2555) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2566) |
ผลการลงมติ
[แก้]พรรคการเมือง | ทอมสัน สตาร์ตบิลดิง (ออลซีแลนด์) |
ไบรอัน วิทแมน (แนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์[a]) |
ไมค์ บอสตัน (นิวโซเชียลซีแลนด์) |
โอลิเวีย วิลสัน (วันฟิวเจอร์) |
งดออกเสียง | ไม่เข้าร่วมประชุม | รวม |
ฟิวเจอร์ซีแลนด์ | 135 | 96 | - | 16 | - | - | 247 |
ออลซีแลนด์ | 122 | - | - | - | - | - | 122 |
ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | 79 | - | - | - | - | - | 79 |
นิวโซเชียลซีแลนด์ | - | - | 58 | - | 6 | 6 | 64 |
อีเลกชันบาร์ | - | - | 39 | - | - | - | 39 |
โซเชียลพาวเวอร์ | - | - | 36 | - | - | 36 | |
นิวไทม์ | 10 | 7 | - | 4 | - | - | 21 |
เดโมแครตซีแลนด์ | 18 | - | - | - | - | - | 18 |
แนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์[a] | - | 16 | - | - | - | - | 16 |
วันฟิวเจอร์ | - | - | - | 13 | - | - | 13 |
เดอะวันซีแลนด์ | 8 | 1 | - | 3 | - | - | 12 |
ปฎิรูปซีแลนด์ | 5 | - | - | - | - | - | 5 |
พัฒนาเศรษฐกิจ | 5 | - | - | - | - | - | 5 |
ซีแลนด์ก้าวหน้า | 3 | - | - | - | - | - | 3 |
รวม | 385 | 120 | 133 | 36 | 0 | 6 | 680 |
เชิงอรรถ
[แก้]
Dominic
[แก้]โดมินิก เซนต์ | |
---|---|
ประธานาธิบดีสกอตต์ซีแลนด์ คนที่ 14 | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 18 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (0 ปี 163 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | เมดเดอร์ลีน เอลลา จูเลีย บริเอล |
ก่อนหน้า | เบนจามิน คลาร์ก |
นายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คนที่ 24 | |
ดำรงตำแหน่ง 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 – 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (2 ปี 332 วัน) | |
ประธานาธิบดี | มาร์ก เวร์เนอร์ ทิม ฮาร์วาร์ด |
รอง | เมดเดอร์ลีน เอลลา |
ก่อนหน้า | โจนาธาน ซาร์ต |
ถัดไป | เมดเดอร์ลีน เอลลา |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม | |
ดำรงตำแหน่ง 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (2 ปี 48 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โจนาธาน ซาร์ต |
ก่อนหน้า | จอห์น โลแกน |
ถัดไป | เฮย์เดน แมกซ์เวลล์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ | |
ดำรงตำแหน่ง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 (1 ปี 157 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โจนาธาน ซาร์ต |
ก่อนหน้า | ทิม ฮาร์วาร์ด |
ถัดไป | โจนาธาน ซาร์ต |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
ดำรงตำแหน่ง 22 มิถุนายน พ.ศ. 2557 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (9 ปี 362 วัน) | |
หัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ | |
ดำรงตำแหน่ง 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 – 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 (4 ปี 71 วัน) | |
รอง | มาร์ก เวร์เนอร์ ทิม ฮาร์วาร์ด เฮย์เดน แมกซ์เวลล์ |
ก่อนหน้า | โจนาธาน ซาร์ต |
ถัดไป | มาร์ก เวร์เนอร์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 18 ตุลาคม พ.ศ. 2517 มหานครมาร์ช สกอตต์ซีแลนด์ |
ศาสนา | ไม่นับถือศาสนา |
พรรคการเมือง | อิสระ |
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | พลังประชาชนสกอตต์ (2547–2567) |
ความสูง | 1.83 m (6 ft 0 in) |
บุพการี |
|
ญาติ | ไอรีน เซนต์ (น้องสาว) |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ช |
ทรัพย์สินสุทธิ | 13.78 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
โดมินิก เซนต์ (อังกฤษ: Dominic Saint; เกิด 18 ตุลาคม พ.ศ. 2517) เป็นนักการเมือง นักเศรษฐศาสตร์ และนักธุรกิจชาวสกอตต์ซีแลนด์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสกอตต์ซีแลนด์ โฆษกพรรคพลังประชาชนสกอตต์ อดีตนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คนที่ 24 (ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2560–2563) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของประเทศสกอตต์ซีแลนด์ อดีตหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ และอดีตโฆษกพรรคพลังประชาชนสกอตต์
โดมินิกเริ่มลงสมัครเข้าสู่การเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคพลังประชาชนสกอตต์ใน พ.ศ. 2547 และเขาได้รับเลือกตั้งในพื้นที่นครมาร์ช เขต 1 หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในเดือนธันวาคมของปีเดียวกัน ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานวิปฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรแห่งสกอตต์ ในรัฐบาลของเบน แอโรว์ กระทั่งเบนเสียชีวิตขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการถูกลอบสังหารเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งเป็นช่วงของการชุมนุมต่อต้านรัฐบาลภายในประเทศ
หลังจากการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2556 และการจัดตั้งรัฐบาลโจนาธาน 1 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจของสกอตต์ซีแลนด์ ต่อมาเขาได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชนสกอตต์ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557
ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 นายกรัฐมนตรีมีการปรับคณะรัฐมนตรีใหม่ทั้งหมด ทำให้ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจของโดมินิกสิ้นสุดลง และเขาได้โยกย้ายไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมแทน
หลังจากโจนาธาน ซาร์ต ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรของประเทศในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 โจนาธานได้ประกาศลาออกจากหัวหน้าพรรคอีกด้วย มติของพรรคพลังประชาชนสก็อตต์ในวันเดียวกันนี้มีมติให้เขาดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคแทน กระทั่งมีการเลือกตั้งในวันที่ 25 มิถุนายนของปีเดียวกัน โดยที่เขาเป็นผู้นำของการเลือกตั้งครั้งนี้ ผลปรากฏว่า พรรคของเขาได้รับจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุด ต่อมาในวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 สภาผู้แทนราษฎรได้มีการนัดลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ในการลงบันทึกดังกล่าวได้มีการเสนอชื่อผู้ที่สมควรจะเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวเท่านั้นคือเขา ผลปรากฏว่าโดมินิกได้รับการเห็นชอบจากภายในสภาให้เป็นนายกรัฐมนตรีต่อจากโจนาธาน ซาร์ต และมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมดในวันที่ 14 กรกฎาคมของปีเดียวกัน
ปัญหาเศรษฐกิจโลกใน พ.ศ. 2563 ซึ่งได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง ทำให้ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เขาจึงได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และมีการจัดการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 24 พฤษภาคมของปีเดียวกัน กระทั่งเมดเดอร์ลีน เอลลารับช่วงตำแหน่งนายกรั���มนตรีต่อจากเขาในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563
ประวัติ
[แก้]โดมินิกเกิดเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2517 ที่มหานครมาร์ช สกอตต์ซีแลนด์ เป็นบุตรเพียงคนเดียวของเบน เซนต์ และมาเรีย เซนต์ เขาสำเร็จการศึกษาดังนี้
- ระดับอนุบาล: โรงเรียนอนุบาลเซนต์ปอล
- ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา: โรงเรียนแมรีมาร์ช
- ระดับปริญญาตรี: มหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ช (สำเร็จการศึกษาใน พ.ศ. 2546)
เข้าสู่วงการทางการเมือง
[แก้]ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 เขาได้สมัครเข้าร่วมกับพรรคพลังประชาชนสกอตต์ และหลังจากการเลือกตั้งในเดือนธันวาคมของปีเดียวกันเขาได้รับการเลือกให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนครมาร์ช เขต 1
ในวันที่ 14 กันยายน 2551 เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานวิปฝ่ายค้านของสภาผู้แทนราษฎร เขาสิ้นสุดตำแหน่งในวันที่ 1 ธันวาคม 2551 หลังจากพรรคพลังประชาชนสกอตต์ซึ่งเป็นพรรคสังกัดของเขานั้นกลับมาดำรงตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลอีกครั้ง โดยมีนาธาน เควสต์เป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เขามีบทบาททางการเมืองน้อยมากในระหว่างรัฐบาลของเบนจามิน คลาร์ก แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (นครมาร์ช เขต 1)
วันที่ 9 ธันวาคม 2556 โจนาธาน ซาร์ตได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี และในวันที่ 15 ธันวาคมของปีเดียวกันนี้ได้มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมด โดยโดมินิกได้รับมอบหมายให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจของประเทศ เขาสิ้นสุดตำแหน่งรัฐมนตรีในวันที่ 21 พฤษภาคม 2558 หลังจากนายกรัฐมนตรีมีการปรับคณะรัฐมนตรีใหม่ทั้งหมด
วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 โจนาธาน ซาร์ต นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรพร้อมกับลาออกจากหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ และที่ประชุมพรรคมีมติให้โดมินิกเป็นหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์
ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
[แก้]เริ่มดำรงตำแหน่ง
[แก้]การเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ผลปรากฏว่าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ซึ่งเป็นพรรคการเมืองสังกัดของโดมินิกได้รับจำนวนที่นั่งมากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร และต่อมาในวันที่ 29 มิถุนายน 2560 พรรคพลังประชาชนสกอตต์ และพรรคร่วมรัฐบาลอื่น ๆ[a] ได้ประกาศจัดตั้งรัฐบาล และมีมติให้เสนอชื่อโดมินิกขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรี
วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 มีการประชุมในสภาผู้แทนราษฎรเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎรมีการเสนอชื่อโดมินิกเพียงคนเดียว โดยมีมติเห็นชอบจากภายในสภาผู้แทนราษฎร วันเดียวกันนี้เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี และมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมดในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ในวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เขาได้มีการแถลงนโยบายต่อรัฐสภา โดมินิกได้กล่าวถึงนโยบายซึ่งจะมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดิการของประชาชนดังนี้
- นโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจ
- มาตรการการลดค่าครองชีพ 6 เดือน (ดำเนินระหว่าง 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560 – 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561)
- การแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดในพื้นที่เมืองใหญ่และพื้นที่เขตเมืองอื่น ๆ
- การลดความเหลื่อมล้ำระหว่างพื้นที่เมืองและชนบท
- นโยบาย "The One Scott" หรือนโยบายทอส (TOS)
- การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
- การประกาศใช้นโยบายบัตรสวัสดิการรักษาทุกโรค (เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560)
- นโยบายการต่อต้านกลุ่มก่อการร้าย
- การพัฒนาอุตสาหกรรม
- การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำที่ 45 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน (ภายใน พ.ศ. 2562)
นโยบายดังกล่าวได้เป็นที่ชื่นชมและสนับสนุนจากประชาชนทั้งในพื้นที่เมืองและพื้นที่ชนบท ซึ่งประชาชนในประเทศมองว่านโยบายนี้จะเป็นผลดีต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต ในเดือนมกราคม 2561 เขาได้ประกาศนโยบาย "One Traffic" ซึ่งเป็นนโยบายที่สนับสนุนให้ประชาชนใช้ระบบขนส่งสาธารณะ โดยเฉพาะรถโดยสารประจำทาง รถไฟฟ้า หรือแท็กซี่ และสามารถใช้รถส่วนตัวได้ในกรณีการเดินทางในระยะไกล โดยนโยบายดังกล่าวได้เริ่มดำเนินขึ้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561
อย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสู่ปี 2563 เศรษฐกิจโลกเผชิญการถดถอยอย่างรุนแรงและประเทศสกอตต์ซีแลนด์เป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบเช่นกันและเขาได้ออกมาเผยในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ว่าหากเขาไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ดังกล่าวได้เขามีความจำเป็นจะต้องยุบสภาผู้แทนราษฎร และเนื่องด้วยวิกฤตการณ์เศรษฐกิจดังกล่าวได้รับผลกระทบมากกว่าที่เขาคาดการณ์ไว้ ทำให้เขาต้องประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 ก่อนที่จะให้มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 24 พฤษภาคมของปีเดียวกัน อย่างไรก็ตาม เขาในฐานะหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ได้จำนวนที่นั่งมากเป็นอันดับ 2 รองจากพรรคแนวหน้าอนาคตซึ่งมีเมดเดอร์ลีน เอลลาเป็นหัวหน้าพรรค ทั้งนี้ การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาสิ้นสุดลงในวันที่ 4 มิถุนายน 2563 หลังจากที่รัฐสภามีมติให้เมดเดอร์ลีน เอลลาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อจากเขา ขณะที่คณะรัฐมนตรีของเขาสิ้นสุดการดำรงตำแหน่งในวันที่ 9 มิถุนายนของปีเดียวกัน
ข้อวิพากษ์วิจารณ์
[แก้]การคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจและการเมืองกับประเทศต่าง ๆ
[แก้]โดมินิกได้รับการชื่นชมและการสนับสนุนจากประชาชน และผู้สนับสนุนโดมินิกในฐานะนักการเมืองที่ต่อต้านเผด็จการอย่างมั่นคง แต่การต่อต้านระบอบเผด็จการของโดมินิกทำให้เกิดการคว่ำบาตรทางการเมืองและเศรษฐกิจในประเทศต่าง ๆ ที่โดมินิกกล่าวหาว่าเป็นเผด็จการและเป็นรัฐบาลที่ก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติในบางประเทศ และทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชนบางส่วนว่าจะทำให้ประเทศเกิดการขาดดุลการค้าระหว่างประเทศและกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยเฉพาะกรณีการคว่ำบาตรทางการเมืองและการเศรษฐกิจกับประเทศซีแลนด์ในเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 อย่างไรก็ตาม โดมินิกกล่าวในวันถัดมาว่ารัฐบาลแก้ปัญหาดังกล่าวโดยการเปลี่ยนการส่งออกสินค้าไปยังประเทศซูเปอร์ซีแลนด์ และประเทศเนเน่แทน
ต่อมาหลังจากการรัฐประหารในประเทศมาร์กอนเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 8 สิงหาคม วันดังกล่าวโดมินิกได้ประกาศระงับการค้ากับประเทศมาร์กอนชั่วคราวจนกว่าประเทศจะกลับเข้าสู่การปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย และเมดเดอร์ลีน เอลลา ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลของโดมินิกก็ได้ประกาศระงับฟรีวีซาสำหรับการเดินทางเข้าประเทศสกอตต์ซีแลนด์ของมาร์กอนเป็นการชั่วคราว
Isig
[แก้]ไอซิก พิวทิม | |
---|---|
ประธานาธิบดีซีแลนด์ คนที่ 24 | |
ดำรงตำแหน่ง 5 มีนาคม พ.ศ. 2563 – 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (2 ปี 243 วัน) | |
รองประธานาธิบดี | ทอมสัน สตาร์ตบิลดิง |
ก่อนหน้า | ทอม แอร์สัน (รักษาการ) |
ถัดไป | มัวร่า เลวี |
ผู้นำฝ่ายค้านในรัฐสภาแห่งสหรัฐซีแลนด์ | |
ดำรงตำแหน่ง 22 กุมภาพันธ์ – 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561 (0 ปี 249 วัน) | |
ประธานาธิบดี | บาร์ลัส โวลส์ |
ก่อนหน้า | จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ |
ถัดไป | เบนจามิน คีตัน (2563) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตเอินเอิน | |
ดำรงตำแหน่ง 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 – 17 กันยายน พ.ศ. 2559 (2 ปี 207 วัน) | |
เขตเลือกตั้ง | เขต 1 (2557, 2558) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 21 มกราคม พ.ศ. 2561 (6 ปี 312 วัน) | |
หัวหน้าพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ | |
ดำรงตำแหน่ง 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 26 กันยายน พ.ศ. 2565 (5 ปี 349 วัน) | |
รอง | มัวร่า เลวี ดาเนียล ลาร์กอส |
ก่อนหน้า | ก่อตั้งพรรค |
ถัดไป | มัวร่า เลวี |
ประธานแนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์ | |
ดำรงตำแหน่ง 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 – 5 มีนาคม พ.ศ. 2563 (3 ปี 29 วัน) | |
ก่อนหน้า | ก่อตั้งแนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์ |
ถัดไป | แจนนีน เมลเลอร์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 มหานครเอินเอิน ประเทศซีแลนด์ |
พรรคการเมือง | ออลซีแลนด์ (2557–2559) ฟิวเจอร์ซีแลนด์ (2559–ปัจจุบัน) |
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | แนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์ (2560–ปัจจุบัน) |
ความสูง | 1.88 m (6 ft 2 in) |
คู่สมรส | มัวร่า เลวี (สมรส 2561) |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเอินเอิน มหาวิทยาลัยเคียล่า มหาวิทยาลัยสกอตต์ |
ทรัพย์สินสุทธิ | 8.62 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
ไอซิก พิวทิม (อังกฤษ: Isig Pewtim; เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2533) เป็นนักธุรกิจ นักเศรษฐศาสตร์ และนักการเมืองชาวซีแลนด์ อดีตประธานาธิบดีซีแลนด์คนที่ 24 (ระหว่าง พ.ศ. 2563–2565) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อสังกัดพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ อดีตหัวหน้าพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ และอดีตผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (ระหว่างกุมภาพันธ์–ตุลาคม 2561) นอกจากนี้เขายังเป็นสมาชิกของแนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์ และอดีตประธานแนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์อีกด้วย
ในการเลือกตั้งทั่วไปของซีแลนด์เมื่อปี 2563 พรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ได้รับเสียงมากกว่า 200 เสียง และได้มีการผลักดันเขาให้ขึ้นเป็นประธานาธิบดี โดยมีการลงมติในรัฐสภาโดยสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2563 และเขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานาธิบดีในวันถัดมา และระหว่างเดือนกันยายน 2563 ประชาชนบางส่วนในมหานครเอินเอินเกิดความไม่พอใจที่เขาไม่สามารถแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ โดยมีการอ้างว่าเขาทำให้เศรษฐกิจย่ำแย่ลง ทำให้เกิดเหตุความไม่สงบทางการเมืองเป็นระยะเวลาหนึ่งโดยมีการประท้วงขับไล่เขาออกจากประธานาธิบดีก่อนที่การประท้วงจะยุติลงไป อย่างไรก็ดี หลังจากเหตุการณ์ดังกล่าวสถานการณ์ทางการเมืองของซีแลนด์ในสมัยประธานาธิบดีของเขาถือว่ามีเสถียรภาพ เนื่องจากมีการชุมนุมประท้วงค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับยุครัฐบาลอื่น ๆ
ในเหตุการณ์ความไม่สงบที่เฟมและโยเกิร์ต ในปี 2563–2564 และปี 2565 ตามลำดับ ซึ่งเป็นจังหวัดในรัฐแพมแพม เขาได้มีการแต่งตั้งข้าราชการจำนวนหนึ่งให้ไปควบคุมสถานการณ์ในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งทำให้สถานการณ์ดีขึ้นเป็นลำดับ นอกจากนี้ หลังจากเหตุการณ์ความไม่สงบและสงครามในเจนนี่ ทำให้มีนักลงทุนจากทั้งภายในประเทศและต่างประเทศเริ่มลงทุนและซ่อมแซมพื้นที่ต่าง ๆ ที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม
อย่างไรก็ตามระหว่างวันที่ 20–22 พฤษภาคม 2565 ทหารซีแลนด์บางส่วนได้มีการก่อรัฐประหารเพื่อควบคุมอำนาจการบริหารประเทศของเขา การรัฐประหารครั้งดังกล่าวไม่สำเร็จ เนื่องจากมีประชาชนจำนวนมากต่อต้านและไม่พอใจในการพยายามรัฐประหารครั้งดังกล่าว และหน่วยงานหลายแห่งไม่ให้การรับรองรัฐประหาร รวมถึงเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ด้วย กระทั่งในวันที่ 26 กันยายน 2565 เขาได้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร โดยให้เหตุผลถึงสถานการณ์ทางการเมืองที่เริ่มรุนแรงขึ้น ก่อนที่เขาจะประกาศลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีขณะที่สภาผู้แทนราษฎรว่างในวันที่ 10 ตุลาคม 2565 แต่มติคณะรัฐมนตรีมีมติให้เขาดำรงตำแหน่งต่อระหว่างรอการเลือกตั้ง
ประวัติ
[แก้]เขาเกิดเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2533 ที่ศูนย์การแพทย์แห่งชาติ (เอินเอิน) โดยเป็นบุตรของเกร็ก พิวทิม และลีนา พิวทิม โดยเขาเป็นบุตรเพียงคนเดียวในครอบครัว เขาจบการศึกษาระดับอนุบาลจนถึงประถมศึกษาที่โรงเรียนจอห์นเอินเอิน (2536 ถึง 2545) มัธยมศึกษาจากโรงเรียนมารีเซนต์เอินเอิน (2545 ถึง 2550) และเข้าศึกษาต่อในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอินเอิน สาขาการเงินโลกที่มหาวิทยาลัยเคียล่า โดยเขาได้ศึกษาในระดับปริญญาโทใบที่ 3 ทั้งคู่ และเขาได้ศึกษาในระดับปริญญาโทใบที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่มหาวิทยาลัยสกอตต์ ในประเทศสกอตต์ซีแลนด์ กระทั่งเขาจบการศึกษาใน พ.ศ. 2559
ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี
[แก้]หลังจากที่บาร์ส ซูเมอร์ ซึ่งเป็นประธานาธิบดีซีแลนด์ในขณะนั้น ได้ประกาศยุบสภานิติบัญญัติซึ่งสมาชิกจำนวน 3 ใน 4 มาจากการแต่งตั้งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติแห่งสหรัฐซีแลนด์ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2562 เขาได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2563 และมีการเลือกตั้งล่วงหน้าในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 หลังจากนั้นเขาได้ดำรงตำแหน่งในฐานะรัฐบาลรักษาการ ทว่า ขณะที่บาร์ส ซูเมอร์ดำรงตำแหน่งในฐานะรัฐบาลรักษาการ ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563 ซึ่งเป็นวันก่อนเลือกตั้งทั่วไปทั่วประเทศเพียงวันเดียว เขาถูกลอบสังหารจากการลอบวางระเบิดที่หน้าบ้านพักของเขา อย่างไรก็ตาม การเลือกตั้งในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2563 ยังดำเนินการตามปกติและไม่มีการยกเลิก
หลังจากการเลือกตั้งทั่วไป พรรคของไอซิก (ฟิวเจอร์ซีแลนด์) ชนะในการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยได้รับที่นั่งจำนวน 171 ที่นั่งจากทั้งหมด 430 ที่นั่ง ขณะที่พรรคอันดับสอง (พรรคออลซีแลนด์) ได้รับที่นั่งจำนวน 105 ที่นั่ง โดยได้มีการประกาศผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563 ต่อมา ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 เขาได้มีการบันทึกความเข้าใจระหว่างพรรคร่วมรัฐบาลจำนวน 5 พรรคหลัก ๆ ซึ่งมีพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ พรรคออลซีแลนด์ พรรคซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ พรรคนิวไทม์ และพรรคเดโมแครตซีแลนด์ ซึ่งมีจำนวนที่นั่งรวมทั้งหมดแล้วเกินกึ่งหนึ่งของในรัฐสภาซีแลนด์
ในวันที่ 4 มีนาคม 2563 ในการลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ ได้มีการเสนอชื่อเขาเพียงคนเดียวในการลงมติครั้งนี้ โดยได้รับเสียงสนับสนุนทั้งหมด 323 เสียง จากทั้งหมด 430 เสียง วันถัดมาเขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานาธิบดีของซีแลนด์
ขณะที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีซึ่งเริ่มตั้งแต่ 5 มีนาคม 2563 เขาได้รับการสนับสนุนจากประเทศต่าง ๆ และรัฐบาลในประเทศสกอตต์ซีแลนด์ได้มีการเริ่มการทูตและเศรษฐกิจ หลังจากที่ถูกระงับทางการทูตและการค้าตั้งแต่ปี 2561 จากกรณีเหตุสลายการชุมนุมเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 อย่างไรก็ตาม ขณะที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีซีแลนด์ได้เป็นระยะเวลาเกือบ 6 เดือน คณะต่อต้านการเปลี่ยนแปลงซึ่งชุมนุมระหว่างวันที่ 1-6 กันยายน 2563 ได้มีการชุมนุมเพื่อพยายามขับไล่เขาออกจากประธานาธิบดี โดยมีการอ้างเหตุผลว่าเขาไม่สามารถ แก้ปัญหาการชะลอตัวของเศรษฐกิจของประเทศได้ รวมถึงการลดลงของรายได้ในพื้นที่ของเมืองหลวง ทั้งนี้ หลังจากช่วงดังกล่าวการชุมนุมก็ได้ยุติลงไป
ในการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขา เขาได้มีความพยายามที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างน้อย 5% ต่อปี รวมถึงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่อื่น ๆ ของประเทศด้วย
ในเดือนตุลาคม 2563 เขาได้ดำเนินการนโยบายที่มีชื่อว่า วันนิวโซเชียลออฟซีแลนด์ (One New Social Of Sealand; ONSOS) ซึ่งเป็นนโยบายที่มีการใช้งบประมาณจำนวน 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อใช้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและกระตุ้นเศรษฐกิจภภายในประเทศ รวมถึงบริการสาธารณะต่าง ๆ โดยโครงการนี้จะดำเนินการเป็นเวลา 2 ปี (2564-2566) ภายใต้รัฐบาลของเขา และโครงการดังกล่าวครอบคลุมทั่วประเทศ นโยบายดังกล่าวได้รับการตอบรับที่ดีจากประชาชนในซีแลนด์จำนวนมาก นโยบายดังกล่าวเริ่มดำเนินการเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2564 โดยในปีเดียวกันนี้ ประเทศซีแลนด์ถือว่ามีเสถียรภาพทางการเมืองค่อนข้างสูง และนโยบายดังกล่าวที่เขาได้ดำเนินการส่งผลทำให้ ประเทศมีการพัฒนาในหลายด้านมากขึ้น รัฐบาลของเขาได้รับการชื่นชมจากทั้งประชาชนภายในประเทศและนานาชาติว่าเป็นรัฐบาลที่มีเสถียรภาพมากที่สุด
อย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสู่ปี 2565 เขาต้องเผชิญปัญหาสถานการณ์ทางการเมืองในโยเกิร์ตรวมถึงสงคราม ซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศซีแลนด์ในรัฐแพมแพม ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวได้กระทบต่อเศรษฐกิจในประเทศเป็นอย่างมาก ซึ่งประชาชนบางส่วนวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลของเขาว่าแก้ไขปัญหาสถานการณ์ดังกล่าวได้ไม่มีประสิทธิภาพ รวมถึงปัญหาเศรษฐกิจซึ่งมีผลกระทบส่วนหนึ่งมาจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน ทำให้เงินเฟ้อในซีแลนด์เพิ่มขึ้น ปัญหาดังกล่าวเริ่มรุนแรงขึ้นเมื่อกลุ่มสงครามโยเกิร์ตพยายามเข้ายึดอำนาจรัฐประหารรัฐบาลของเขาในเดือนพฤษภาคมของปีเดียวกันนี้ และสถานการณ์เริ่มเลวร้ายลงเมื่อมีการชุมนุมต่อต้านการรัฐประหารดังกล่าวโดยมีการใช้ความรุนแรง หลังจากที่รัฐบาลของเขาต้องเผชิญปัญหาดังกล่าว รัฐบาลของเขามีการประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 26 กันยายนของปีเดียวกัน
Nathan
[แก้]นาธาน เควสต์ | |
---|---|
นายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คนที่ 21 | |
ดำรงตำแหน่ง 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 – 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552 (0 ปี 217 วัน) | |
ประธานาธิบดี | จอห์น คาร์ลตัน |
รอง | นาธาน แอนดรูว์ |
ก่อนหน้า | เบน แอโรว์ |
ถัดไป | เบนจามิน คลาร์ก |
รองนายกรัฐมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 23 มกราคม พ.ศ. 2549 – 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 (2 ปี 130 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | อิซาเบลลา เนลตัน จอห์น แอโรว์ |
ดำรงตำแหน่ง 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 – 23 สิงหาคม พ.ศ. 2558 (5 ปี 268 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | เบนจามิน คลาร์ก โจนาธาน ซาร์ต |
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | |
ดำรงตำแหน่ง 4 กันยายน – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 (0 ปี 81 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | เบน แอโรว์ |
ก่อนหน้า | เบน แอโรว์ |
ถัดไป | ไมลส์ เดแคลน |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 (24 ปี 23 วัน) | |
หัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ | |
ดำรงตำแหน่ง 14 สิงหาคม พ.ศ. 2551 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2556 (5 ปี 70 วัน) | |
รอง | ทิม ฮาร์วาร์ด โจนาธาน ซาร์ต |
ก่อนหน้า | จอห์น แอโรว์ |
ถัดไป | โจนาธาน ซาร์ต |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 มหานครมาร์ช สกอตต์ซีแลนด์ |
ศาสนา | ไม่นับถือศาสนา |
พรรคการเมือง | พลังประชาชนสกอตต์ (ตั้งแต่ 2542) |
ความสูง | 1.76 m (5 ft 9 1⁄2 in) |
คู่สมรส | นีล นิโคลัส (สมรส 2550) |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ช |
ทรัพย์สินสุทธิ | 1.64 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
นาธาน เควสต์ (อังกฤษ: Nathan Quest; เกิด 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นนักการเมืองชาวสกอตต์ซีแลนด์ เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คนที่ 21 (ระหว่าง พ.ศ. 2551–2552) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร และอดีตหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์
นาธานเริ่มเข้าสู่วงการทางการเมืองโดยเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรคพลังประชาชนสกอตต์เมื่อ พ.ศ. 2542 ร่วมกับอิซาเบลลา เนลตัน, จอห์น แอโรว์, แอนโตนิโอ ทักเกอร์ และฟรานซิส โดโนวาน ต่อมาในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ พ.ศ. 2543 นาธานได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรค และระหว่างการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอิซาเบลลา เนลตันในสมัยที่สอง ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 นาธานได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองนายกรัฐมนตรีต่อเนื่องจนถึงสมัยของรัฐบาลจอห์น แอโรว์ กระทั่งลาออกจากตำแหน่งในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551
หลังจากการขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเบน แอโรว์ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 หนึ่งเดือนต่อมานาธานได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร กระทั่งเบนถูกลอบสังหารเสียชีวิตในวันที่ 24 พฤศจิกายนของปีเดียวกัน และในวันเดียวกันนี้มีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ผลการลงมติปรากฏว่านาได้รับมติเห็นชอบในรัฐสภาทั้งหมด 368 จาก 550 เสียง จึงได้รับการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 21
นาธานดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ในห้วงวิกฤตการณ์การเงินโลกและขณะที่วิกฤตการณ์การเมืองภายในประเทศกำลังดำเนินอยู่ หลังจากการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี นาธานเขาได้เริ่มการปฏิบัติงานโดยการเร่งดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูงในพื้นที่ 3 เมืองใหญ่ของประเทศ และโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่อื่น ๆ ซึ่งมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะล่าช้าจากผลกระทบของการชะลอตัวของเศรษฐกิจในประเทศก็ตาม
ในระหว่างดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นาธานถูกกล่าวหาจากประชาชนบางกลุ่มและกลุ่มต่อต้านรัฐบาลจากการถือหุ้นในสื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะไมล์ส เดแคลน ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในขณะนั้นวิพากษ์วิจารณ์ว่าการถือหุ้นสื่อของนาธานขัดต่อรัฐธรรมนูญ และอาจส่งผลให้นาธา���ถูกถอดถอนออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ข้อกล่าวหาดังกล่าวนำไปสู่การยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญโดยสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนหนึ่งในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 โดยที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องดังกล่าว กระทั่งในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงข้างมากให้นาธานพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ประวัติ
[แก้]นาธานเกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 ที่มหานครมาร์ช ประเทศสกอตต์ซีแลนด์ เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของทอย เควสต์และลินเนอร์ เควสต์
ขณะที่นาธานอายุห้าปี ครอบครัวของเขาย้ายไปอยู่ที่เมืองเนเน่ซิตี และเขาได้รับการศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนแกรนด์ดัชชีเนเน่ และหลังจากเขาจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาเขาได้เดินทางกลับมาศึกษาต่อในระดับปริญญาที่สกอตต์ซีแลนด์ในมหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ชกระทั่งจบการศึกษาระดับปริญญาตรีใน พ.ศ. 2535
บทบาททางการเมือง
[แก้]พรรคพลังประชาชนสกอตต์ การดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรี
[แก้]ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2542 นาธานพร้อมกับอิซาเบลลา เนลตัน, จอห์น แอโรว์, แอนโตนิโอ ทักเกอร์ ฟรานซิส โดโนวานและคณะได้ยื่นจดทะเบียนพรรคการเมืองในชื่อ พรรคพลังประชาชนสกอตต์ โดยนาธานเป็นเลขาธิการพรรคและเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารของพรรคนี้ ต่อมาในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ พ.ศ. 2543 นาธานได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคในลำดับที่ 5
ต่อมาระหว่างการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอิซาเบลลา เนลตันในสมัยที่สอง ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 นาธานได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองนายกรัฐมนตรี โดยนาธานดำรงตำแหน่งพร้อมกับ
จอห์น แอโรว์ และหลังจากการขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของจอห์นและการจัดตั้งคณะรัฐบาลในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 นาธานได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีต่ออีกสมัย อย่างไรก็ตาม ต่อมานาธานได้ลาออกจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551
หลังการลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ของจอห์น แอโรว์ ในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ทำให้เขาดำรงตำแหน่งรักษาการแทนหัวหน้าพรรค และต่อมาในวันที่ 14 สิงหาคมของปีเดียวกัน ที่ประชุมพรรคพลังประชาชนสกอตต์มีมติให้นาธานดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค
ดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
[แก้]หลังจากการขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเบน แอโรว์ได้หนึ่งเดือน ในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2551 นาธานได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (รัฐสภาสกอตต์) ในฐานะหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ จนกระทั่งวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 หลังจากเบน แอโรว์เสียชีวิตจากการถูกลอบสังหาร นาธานได้รับการลงมติเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี ทำให้เขาต้องพ้นจากตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
[แก้]วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 เบน แอโรว์เสียชีวิตจากการถูกลอบสังหาร และในช่วงบ่ายของวันเดียวกันนี้ที่ประชุมรัฐสภาได้มีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีเป็นการเร่งด่วน ภายในที่ประชุมรัฐสภามีมติ 368 ต่อ 550 เสียงให้นาธานดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คนที่ 21 ขณะที่คณะรัฐมนตรีของนาธานได้รับการแต่งตั้งในอีกหนึ่งสัปดาห์ต่อมา โดยในรัฐบาลของนาธานมีพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลทั้งหมด 9 พรรค โดยมีพรรคพลังประชาชนสกอตต์เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลร่วมกับพรรคการเมืองอื่น ๆ[b]
หลังจากการเริ่มปฏิบัติงานของคณะรัฐมนตรี รัฐบาลของนาธานได้มีการดำเนินโครงการเร่งด่วน 3 โครงการ ได้แก่:
- รถไฟฟ้าความเร็วสูงใน 3 เมืองหลักของสกอตต์ซีแลนด์ (บอนนี, มาร์ชและเมย์บีว)
- มาตรการพัฒนาสังคมภายใต้ชื่อ แกรนด์ไฟว์ (อังกฤษ: Grand Five) ภายใต้ 5 มาตรการสำคัญ ได้แก่ การลดความเหลื่อมล้ำ การลดความยากจน การลดอัตราดอกเบี้ย การลดค่าใช้จ่ายของประชาชน และการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน
- มาตรการช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก
ภายใต้การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของนาธาน ประเทศสกอตต์ซีแลนด์ต้องเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่รุนแรงมากขึ้น รวมถึงสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศที่ยังคงอยู่ในภาวะไม่แน่นอน อย่างไรก็ตาม การดำเนินโครงการภายใต้รัฐบาลของนาธานยังคงดำเนินไปอย่างรวดเร็ว และเศรษฐกิจของประเทศสามารถฟื้นตัวจากวิกฤตการณ์การเงินโลกได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน
วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 วุฒิสภาจำนวน 43 คนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายค้านทั้งหมดได้มีการยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญสกอตต์จากกรณีที่นาธานถือหุ้นกับสถานีโทรทัศน์เอสบีซี (สถานีโทรทัศน์สกอตต์บรอดแคตส์) เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญสกอตต์วินิจฉัย สองวันต่อมาศาลรัฐธรรมนูญสกอตต์ได้ลงมติรับคำร้องดังกล่าวแต่มิได้สั่งให้นาธานหยุดปฏิบัติหน้าที่นายกรัฐมนตรี จนกระทั่งวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ศาลรัฐธรรมนูญสกอตต์มีมติเสียงข้างมากที่ 7 ต่อ 2 ให้การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของนาธานสิ้นสุดลง โดยระบุว่าการกระทำของนาธานขัดต่อรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตาม เขายังคงดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ต่อไปโดยปราศจากมติถอดถอนสิทธิทางการเมือง
เชิงอรรถ
[แก้]Tomson
[แก้]ทอมสัน สตาร์ตบิลดิง | |
---|---|
ประธานาธิบดีซีแลนด์ คนที่ 28 | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 (1 ปี 4 วัน) | |
รองประธานาธิบดี | |
ก่อนหน้า | มัวร่า เลวี |
รองประธานาธิบดีซีแลนด์ | |
ดำรงตำแหน่ง 10 มีนาคม พ.ศ. 2563 – 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (2 ปี 238 วัน) | |
ประธานาธิบดี | ไอซิก พิวทิม |
ก่อนหน้า | ทอม แอร์สัน |
ถัดไป | เจมี แชสเทน |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของซีแลนด์ | |
ดำรงตำแหน่ง 10 มีนาคม พ.ศ. 2563 – 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (2 ปี 240 วัน) | |
ประธานาธิบดี | ไอซิก พิวทิม |
ก่อนหน้า | ทอม แอร์สัน |
ถัดไป | มัวร่า เลวี |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (12 ปี 297 วัน) | |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตเอินเอิน | |
ดำรงตำแหน่ง 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 – 8 มกราคม พ.ศ. 2555 (1 ปี 314 วัน) | |
เขตเลือกตั้ง | เขต 1 (2553) |
หัวหน้าพรรคออลซีแลนด์ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 3 มกราคม พ.ศ. 2563 (4 ปี 330 วัน) | |
รอง | แจนนีน เมลเลอร์ (จนถึง 2566) แนนซี ชาร์ลส์ (ตั้งแต่ 2565) |
ก่อนหน้า | บอน มาร์ก |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 12 ธันวาคม พ.ศ. 2531 มหานครเอินเอิน ประเทศซีแลนด์ |
พรรคการเมือง | เดโมแครตซีแลนด์ (2553–2555) ออลซีแลนด์ (2555–ปัจจุบัน) |
ความสูง | 1.83 m (6 ft 0 in) |
คู่สมรส | เอมมา สตาร์ตบิลดิง (สมรส 2557) |
บุตร |
|
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเอินเอิน มหาวิทยาลัยสกอตต์ มหาวิทยาลัยดีเพนชีส์ |
ทรัพย์สินสุทธิ | 7.97 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
ทอมสัน สตาร์ตบิลดิง (อังกฤษ: Tomson Startbuilding; เกิด 12 ธันวาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมืองชาวซีแลนด์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีซีแลนด์คนที่ 28 (ตั้งแต่ พ.ศ. 2566) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรองประธานาธิบดีในรัฐบาลของไอซิก พิวทิม (ระหว่าง พ.ศ. 2563–2565) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคออลซีแลนด์
ใน พ.ศ. 2553 เขาเริ่มเข้าสู่วงการทางการเมืองโดยเข้าร่วมพรรคเดโมแครตซีแลนด์ กระทั่งในการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ์ของปีเดียวกันเขาได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 ของพิม (ปัจจุบันคือเอินเอิน; พิมเมโทร) และหลังจากการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เขาได้ลาออกจากพรรคเดโมแครตซีแลนด์และย้ายไปสังกัดพรรคออลซีแลนด์พร้อมกับการสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรค และเขาได้รับการเลือกให้เป็นรองหัวหน้าพรรคใน พ.ศ. 2559 กระทั่งในเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 ที่ประชุมพรรคมีมติให้เขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคต่อจากบอน มาร์กซึ่งลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรคเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562
หลังจากการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2563 พรรคออลซีแลนด์ซึ่งมีทอมสันเป็นหัวหน้าพรรคได้รับที่นั่งมากเป็นลำดับที่สองในรัฐสภา (105 ที่นั่ง) รองจากพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในรัฐสภา (171 ที่นั่ง) ไอซิก พิวทิมซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ได้มีการเชิญเขาในฐานะหัวหน้าพรรคพร้อมกับพรรคร่วมรัฐบาลอื่น ๆ อีก 4 พรรค และหลังจากไอซิก พิวทิมขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีซีแลนด์ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นรองประธานาธิบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2563–2565) และหลังจากที่ไอซิก พิวทิมพ้นจากตำแหน่งประธานาธิบดีในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 บทบาททางการเมืองของเขาได้หายไปชั่วคราว โดยที่ทอมสันยังคงดำรงตำแหน่งสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคออลซีแลนด์ต่อไป
ในการเลือกตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566 พรรคของเขายังคงได้รับที่นั่งเป็นลำดับที่สองในรัฐสภาโดยได้รับที่นั่ง 122 ที่นั่ง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์จะได้รับที่นั่งในรัฐสภามากที่สุดด้วยจำนวน 247 ที่นั่ง แต่เจมี แชสเทนในฐานะหัวหน้าพรรคได้ออกมาแถลงการมอบสิทธิให้พรรคออลซีแลนด์เป็นแกนนำการจัดตั้งรัฐบาลในวันที่ 21 พฤศจิกายนของปีเดืยวกัน และทำให้มีพรรคร่วมรัฐบาลทั้งหมด 11 พรรค
ในการลงมติเลือกประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ที่ประชุมรัฐสภาได้มีการเสนอชื่อผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี 4 คน (ได้แก่ทอมสัน, ไบรอัน วิทแมน, ไมค์ บอสตัน และโอลิเวีย วิลสัน) ผลการลงมติปรากฏว่าเขาได้รับเสียงสนับสนุนจากแกนนำพรรคร่วมรัฐบาลมากที่สุดด้วยจำนวน 385 จาก 680 เสียง และหลังจากการลงมติเลือกประธานาธิบดีแล้ว ทอมสันได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีของซีแลนด์ในวันเดียวกันนี้ และมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมดในสัปดาห์ถัดมา โดยภายในคณะรัฐมนตรีเขาได้มีการแต่งตั้งรองประธานาธิบดีทั้งหมดสามคน ได้แก่แจนนีน เมลเลอร์, มัวร่า เลวี และแนนซี ชาร์ลส์
ชีวิตส่วนตัวเขาสมรสกับเอมมา สตาร์ตบิลดิงเมื่อ พ.ศ. 2557 และปัจจุบันมีบุตร-ธิดาจำนวน 2 คน
ประวัติ
[แก้]ทอมสันเกิดเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2531 ที่ศูนย์การแพทย์แห่งชาติ (เอินเอิน) โดยเขาเป็นบุตรคนเดียวของจอห์น สตาร์ตบิลดิง และแนนซี สตาร์ตบิลดิง เขาเติบโตมาในฐานะครอบครัวที่ประกอบธุรกิจการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์
เขาเริ่มเข้ารับการศึกษาในระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนจอห์นเอินเอิน ก่อนที่เขาจะศึกษาต่อในระดับปริญญาในประเทศ (มหาวิทยาลัยเอินเอิน) กระทั่งหลังจากเขาจบการศึกษาใน พ.ศ. 2553 เขาได้เดินทางไปศึกษาต่อใน 2 มหาวิทยาลัยของสกอตต์ซีแลนด์จนกระทั่งเขาจบการศึกษาในสี่ปีต่อมา
ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
[แก้]���น พ.ศ. 2553 เขาเริ่มเข้าสู่วงการทางการเมืองโดยเข้าร่วมพรรคเดโมแครตซีแลนด์ เขาได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพิมเขต 1 (ปัจจุบันคือเอินเอิน; พิมเมโทร) และหลังจากการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เขาได้ลาออกจากพรรคเดโมแครตซีแลนด์และย้ายไปสังกัดพรรคออลซีแลนด์พร้อมกับการสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรค
รองประธานาธิบดีและรัฐมนตรี
[แก้]หลังจากที่คณะรักษาความสงบแห่งสหรัฐซีแลนด์ประกาศให้มีการจัดการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2563 พรรคออลซีแลนด์ซึ่งมีทอมสันเป็นหัวหน้าพรรคได้รับที่นั่งมากเป็นลำดับที่สองในรัฐสภา (105 ที่นั่ง) รองจากพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในรัฐสภา (171 ที่นั่ง) ไอซิก พิวทิมซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ได้มีการเชิญเขาในฐานะหัวหน้าพรรคพร้อมกับพรรคร่วมรัฐบาลอื่น ๆ อีก 4 พรรค และหลังจากไอซิก พิวทิมขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีซีแลนด์ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นรองประธานาธิบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กระทั่งทอมสันพ้นจากตำแหน่งดังกล่าวในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปและการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ทั้งหมดในปีดังกล่าว
ขึ้นสู่ตำแหน่งประธานาธิบดี
[แก้]ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 พรรคออลซีแลนด์ซึ่งทอมสันเป็นหัวหน้าพรรคได้รับที่นั่งเป็นลำดับที่สองในรัฐสภาโดยได้รับที่นั่ง 122 ที่นั่ง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์จะได้รับที่นั่งในรัฐสภามากที่สุดด้วยจำนวน 247 ที่นั่ง แต่เจมี แชสเทนในฐานะหัวหน้าพรรคได้ออกมาแถลงการมอบสิทธิให้พรรคออลซีแลนด์เป็นแกนนำการจัดตั้งรัฐบาลในวันที่ 21 พฤศจิกายนของปีเดืยวกัน
ต่อมาในการลงมติเลือกประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ที่ประชุมรัฐสภาได้มีการเสนอชื่อทอมสันเป็นหนึ่งในผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ผลการลงมติปรากฏว่าเขาได้รับเสียงสนับสนุนจากสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดด้วยจำนวน 385 เสียง ซึ่งเกินกึ่งหนึ่งของรัฐสภา ทำให้ทอมสันได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีของซีแลนด์ในวันเดียวกันนี้ และมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมดในสัปดาห์ถัดมา
Barlas
[แก้]บาร์ลัส โวลส์ | |
---|---|
ประธานาธิบดีซีแลนด์ คนที่ 21 | |
ดำรงตำแหน่ง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – 20 มกราคม พ.ศ. 2562 (2 ปี 36 วัน[a][b]) | |
รองประธานาธิบดี | ทอม แอร์สัน (จนถึง 2561) จอห์น ซาร์ล วอร์เตอร์ (ตั้งแต่ 2561) |
ก่อนหน้า | จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ |
ถัดไป | มาร์ก สวอร์ตเตอร์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | |
ดำรงตำแหน่ง 23 มีนาคม พ.ศ. 2553 – 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (1 ปี 319 วัน) | |
ประธานาธิบดี | เจมส์ เวสตินส์ |
ก่อนหน้า | แฟรงก์ ชไตน์เฟิร์ต |
ถัดไป | ไมค์ ชาร์ลส์ |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ | |
ดำรงตำแหน่ง 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 – 13 สิงหาคม พ.ศ. 2554 (3 ปี 17 วัน) | |
ดำรงตำแหน่ง 21 มกราคม พ.ศ. 2561 – 10 เมษายน พ.ศ. 2567 (6 ปี 80 วัน) | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 มหานครเอินเอิน ประเทศซีแลนด์ |
พรรคการเมือง | นิวโซเชียลซีแลนด์ (2551–2554, 2560–2567) |
ความสูง | 1.75 m (5 ft 9 in) |
คู่สมรส | มาเรีย โวลส์ (สมรส 2547) |
บุตร |
|
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเอินเอิน มหาวิทยาลัยสกอตต์ มหาวิทยาลัยดีเพนชีส์ |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ซีแลนด์ |
สังกัด | กองทัพบกซีแลนด์ |
ประจำการ | พ.ศ. 2542–2560 |
ยศ | พลตรี |
ถูกกล่าวหา | อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ |
รับโทษ | 10 ปี |
สถานะทางคดี | จำคุก |
พลตรี บาร์ลัส โวลส์ (อังกฤษ: Barlas Volts; เกิด 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) เป็นนักการเมืองและทหารบกชาวซีแลนด์ อดีตประธานาธิบดีซีแลนด์คนที่ 21 (ดำรงตำแหน่งสองสมัยระหว่าง พ.ศ. 2559–2560 และ พ.ศ. 2561–2562) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของซีแลนด์ และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคนิวโซเชียลซีแลนด์
ในวันที่ 15 ธันวาคม 2559 หลังจากการลาออกของจูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ รัฐสภาได้มีการแต่งตั้งเขาให้เป็นประธานาธิบดีจากการลงมติเลือกประธานาธิบดี ขณะที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขาได้มีนโยบายต่าง ๆ ที่น่าสนใจ เช่น นโยบายรัฐสวัสดิการ การรักษาและบริการทางการแพทย์ฟรีทุกเพศทุกวัย และการกระตุ้นเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขาในสมัยแรกถูกมองว่าไม่เป็นประชาธิปไตย เนื่องจากในการลงมติเลือกประธานาธิบดีมีการนำวุฒิสภาลงมติ ขณะที่ฝ่ายรัฐบาลเดิมต้องการให้ไมค์ ชาร์ลส์ ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีต่อจากจูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ แต่การเสนอชื่อไม่ได้รับอนุญาตเนื่องจากพรรคนิวโซเชียลซีแลนด์มีการคัดค้าน เหตุการณ์ดังกล่าวได้นำไปสู่การประท้วงครั้งใหญ่ในประเทศ ก่อนที่เขาจะลาออกในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ในการลงมติเลือกประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 การลงมติครั้งดังกล่าวได้มีการนำวุฒิสภาร่วมการลงมติด้วย ถึงแม้ว่าฝ่ายรัฐบาล (พรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์และอื่น ๆ) จะมีเสียงข้างมากเกินกึ่งหนึ่ง แต่วุฒิสภาส่วนมากลงมติไปยังฝ่ายค้าน ซึ่งมีเสียงส่วนน้อย ทำให้เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีต่อเป็นสมัยที่สอง และได้มีการแต่งตั้งเขาเป็นประธานาธิบดีในวันต่อมาพร้อมกับรัฐบาลผสมเสียงข้างน้อย อย่างไรก็ตาม จากการแต่งตั้งดังกล่าวทำให้ประชาชนเกิดความไม่พอใจ และได้ก่อการประท้วงต่อเนื่อง
ในการอภิปรายไม่ไว้วางใจเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ฝ่ายรัฐบาลได้ลงมติไม่ไว้วางใจซึ่งเกินกึ่งหนึ่ง ทำให้เขาพ้นจากตำแหน่ง แต่อย่างไรก็ตาม หลังจากที่มาร์ก สวอร์ตเตอร์ ขึ้นดำรงตำแหน่งรักษาการประธานาธิบดีได้ไม่นาน รัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาได้ลงมติให้เขากลับมาเป็นประธานาธิบดีอีกครั้ง ขณะที่รักษาการประธานาธิบดีไม่ออกจากตำแหน่ง ทำให้เกิดวิกฤตการณ์ประธานาธิบดีขึ้น ก่อนที่เขาจะประกาศลาออกในวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2562
ประวัติ
[แก้]เขาเกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2521 ที่มหานครเอินเอิน ประเทศซีแลนด์ โดยเขาเป็นบุตรของไมค์ โวลส์ และมาเรีย โวลส์
การขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี
[แก้]สมัยที่ 1 (พ.ศ. 2559–2560)
[แก้]หลังจากจูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ ประกาศลาออกจากประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 โดยให้เหตุผลถึงปัญหาเศรษฐกิจภายในประเทศที่เกิดมาจากวิกฤตพลังงานและน้ำมันภายในประเทศ ซึ่งปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมที่ทำให้มีรายได้จากการผลิตลดลง รัฐสภาจึงได้มีมติให้มีการเลือกประธานาธิบดีคนใหม่โดยไม่มีการยุบสภา ทั้งนี้ สภามีการเสนอชื่อบาร์ลัสขึ้นดำรงตำแหน่ง ซึ่งเสนอชื่อโดยพรรคนิวโซเชียลซีแลนด์ ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้าน และได้รับการเห็นชอบจากภายในสภา
อย่างไรก็ตาม การขึ้นดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดีของเขาถูกมองว่าไม่เป็นประชาธิปไตยอย่างมาก ตั้งแต่การลงมติดังกล่าวเป็นการลงมติโดยมีวุฒิสภาร่วมลงมติเป็นครั้งแรก และยังถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากพรรคร่วมรัฐบาลเดิมไม่สามารถเสนอชื่อไมค์ ชาร์ลส์ ซึ่งสังกัดพรรคออลซีแลนด์ได้ เนื่องจากวุฒิสภาจำนวนมากคัดค้าน จึงทำให้การเสนอชื่อดังกล่าวไม่ได้รับอนุญาต
เขาเริ่มดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีซีแลนด์เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 โดยการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีนั้นถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็น "การรัฐประหารทางอ้อม" จากกลุ่มประชาชนส่วนมากซึ่งเป็นเยาวชนและนิสิตนักศึกษา รวมถึงประชาชนทั่วไปในซีแลนด์ และทำให้พรรคซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ร่วมรัฐบาลด้วย และคณะรัฐมนตรีของเขาได้รับการแต่งตั้งในสามวันต่อมา
ใน พ.ศ. 2560 เขาได้ดำเนินการนโยบาย One Service Sealand หรือ 1SOS ซึ่งเป็นนโยบายรัฐสวัสดิการ ที่จะกระตุ้นการใช้จ่าย และพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนภายในประเทศ ซึ่งนโยบายดังกล่าวมีมูลค่า 1.5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยนโยบายดังกล่าวนั้นเริ่มดำเนินการจริงในเดือนมีนาคม 2560 อย่างไรก็ตาม นโยบายดังกล่าวถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นนโยบายที่ทำให้เกิดความสิ้นเปลือง เนื่องจากรัฐบาลไม่สามารถพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนและคุณภาพชีวิตภายในประเทศได้มากนัก โดยเฉพาะปัญหาระบบสาธารณูปโภคภายในประเทศ ขณะเดียวกัน ในเดือนเดียวกันนี้การประท้วงภายในประเทศก็เริ่มต้นขึ้นด้วย เนื่องจากประชาชนส่วนมากมองว่ารัฐบาลมีการใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย รวมถึงการฉ้อราษฎร์บังหลวงในระดับสูง และการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขาที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
จนถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560 รัฐบาลของเขาเผชิญปัญหาในประเทศซึ่งเริ่มขยายเป็นวงกว้างขึ้น โดยเฉพาะสถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศ สถานการณ์ดังกล่าวเริ่มรุนแรงขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคมของปีเดียวกัน สถานการณ์ดังกล่าวเริ่มผ่อนคลายลงในช่วงปลายปีเดียวกันนี้ แต่รัฐบาลได้ประกาศยุบสภาและลาออกจากตำแหน่ง โดยเขาลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยที่บาร์ลัสเป็นผู้รักษาการประธานาธิบดีด้วยตนเอง ต่อมาเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560 เขาได้สมัครเป็นสมาชิกของพรรคนิวโซเชียลซีแลนด์ และมติพรรคได้มีการแต่งตั้งให้เขาเป็นประธานยุทธศาสตร์ของพรรค
สมัยที่ 2 (กุมภาพันธ์–ตุลาคม พ.ศ. 2561)
[แก้]หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2561 พรรคนิวโซเชียลซีแลนด์ได้รับการเลือกตั้งและได้ที่นั่งจำนวน 50 ที่นั่ง เขาในฐานะประธานยุทธศาสตร์ของพรรค (ซึ่งพรรคดังกล่าวมีสิทธิ์ในการเสนอชื่อประธานาธิบดีในรัฐสภา) เขาเป็นหนึ่งในสองบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อ (แคนดิเดต) เป็นประธานาธิบดีของซีแลนด์ของพรรค (ร่วมกับเจมส์ มาร์กเตอร์)
การประชุมในรัฐสภาเพื่อลงมติเลือกประธานาธิบดีซีแลนด์ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ของปีเดียวกัน โดยมีชื่อบุคคลที่ได้รับการเสนอเป็นประธานาธิบดีซีแลนด์จำนวน 2 คน คือเขาและไอซิก พิวทิม ผลการลงมติปรากฏว่าเขาได้รับเสียงสนับสนุนจำนวน 390 เสียง ซึ่งมากกว่าไอซิก พิวทิม ที่ได้รับเสียงสนับสนุนจำนวน 384 เสียง อย่างไรก็ตาม การลงมติดังกล่าวถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่ามีวุฒิสภาร่วมลงมติด้วย และวุฒิสภาส่วนมากลงมติให้เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีต่อเนื่องเป็นสมัยที่ 2 ทำให้ประชาชนส่วนมากเกิดความไม่พอใจ การประท้วงภายในประเทศจึงกลับมาดำเนินต่อเป็นระยะที่ 2
การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขาในสมัยที่ 2 นั้นต้องเผชิญปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองอย่างรุนแรงมาก และในการประท้วงดังกล่าวยังเกิดเหตุการณ์ความรุนแรงบ่อยครั้ง สถานการณ์ทางการเมืองที่รุนแรงนั้นส่งผลทำให้ฟุตบอลซีแลนด์ 2018 รวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีชื่อเสียงนั้นถูกยกเลิกเป็นจำนวนมาก เนื่องจากสถานการณ์ความปลอดภัยอีกด้วย ทั้งนี้ รัฐบาลของเขายังเกิดความพยายามรัฐประหารถึง 2 ครั้ง[c] ซึ่งล้มเหลว ต่อมาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 รัฐบาลของเขาถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจ และได้รับเสียงไม่ไว้วางใจเกินกึ่งหนึ่ง ทำให้เขาพ้นจากการเป็นประธานาธิบดีในวันที่ 29 ตุลาคมของปีเดียวกัน
วิกฤตการณ์ประธานาธิบดีซีแลนด์
[แก้]ขณะที่มาร์ก สวอร์ตเตอร์ (สังกัดพรรคซีแลนด์เดเวลอปเมนต์) น้องชายของจูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ อดีตประธานาธิบดีซีแลนด์คนที่ 20 ดำรงตำแหน่งรักษาการประธานาธิบดีแทนหลังจากการพ้นตำแหน่งของบาร์ลัส แต่ในช่วงเย็นของวันที่ 29 ตุลาคม พบว่าการอภิปรายไม่ไว้วางใจดังกล่าวนั้นเกิดข้อผิดพลาด ส่งผลให้บาร์ลัสกลับมาดำรงประธานาธิบดีต่อ แต่มาร์กไม่ลาออกจากตำแหน่งรักษาการ ส่งผลให้เกิดวิกฤตการณ์ประธานาธิบดีภายในประเทศ เนื่องจากมีประธานาธิบดีปกครองประเทศถึง 2 คน โดยที่ฝ่ายรัฐบาลเดิมนั้นมีการสนับสนุนบาร์ลัสเป็นประธานาธิบดี ขณะที่ฝ่ายรัฐบาลฝ่ายค้าน (พรรคออลซีแลนด์และพรรคฝ่ายค้านอื่น ๆ ยกเว้นพรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์) สนับสนุนมาร์กเป็นประธานาธิบดี ขณะที่พรรคฟิวเจอร์ซีแลนด์ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านต้องการให้มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ทั่วประเทศ
เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ ขัดแย้งกับมาร์ก สวอร์ตเตอร์ระหว่าง 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – 20 มกราคม พ.ศ. 2562
- ↑ รักษาการ: 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560 – 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
- ↑ ในเดือนกรกฎาคมและกันยายน พ.ศ. 2561
Isabella
[แก้]อิซาเบลลา เนลตัน | |
---|---|
นายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คนที่ 18 | |
ดำรงตำแหน่ง 4 ธันวาคม พ.ศ. 2543 – 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 (6 ปี 229 วัน) | |
ประธานาธิบดี | จอห์น คาร์ลตัน |
รอง | |
ก่อนหน้า | ไมเคิล แอโรว์ |
ถัดไป | จอห์น แอโรว์ |
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม | |
ดำรงตำแหน่ง 10 ธันวาคม พ.ศ. 2543 – 19 สิงหาคม พ.ศ. 2545 (1 ปี 252 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | ตนเอง |
รัฐมนตรีว่าการ | นาธาน แอนดรูว์ |
ก่อนหน้า | ไมเคิล แอโรว์ |
ถัดไป | เบนจามิน คลาร์ก (2556) |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ | |
ดำรงตำแหน่ง 9 มกราคม พ.ศ. 2538 – 20 ตุลาคม พ.ศ. 2539 (1 ปี 285 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | ทอย มาร์ก |
ก่อนหน้า | เบน ฮัดสัน |
ถัดไป | เบน แอโรว์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ | |
ดำรงตำแหน่ง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 (1 ปี 157 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โจนาธาน ซาร์ต |
ก่อนหน้า | ทิม ฮาร์วาร์ด |
ถัดไป | โจนาธาน ซาร์ต |
หัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 สิงหาคม พ.ศ. 2542 – 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 (7 ปี 292 วัน) | |
รอง | ทิม ฮาร์วาร์ด นาธาน เควสต์ จอห์น แอโรว์ |
ก่อนหน้า | ก่อตั้งพรรค |
ถัดไป | จอห์น แอโรว์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 11 มีนาคม พ.ศ. 2503 มหานครมาร์ช สกอตต์ซีแลนด์ |
ศาสนา | ไม่นับถือศาสนา |
พรรคการเมือง | อิสระ |
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | สร้างอนาคต (2535–2542) พลังประชาชนสกอตต์ (2542–2563) |
ความสูง | 1.70 m (5 ft 7 in) |
บุพการี |
|
ญาติ | ไอรีน เซนต์ (น้องสาว) |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ช |
ทรัพย์สินสุทธิ | 1.84 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
อิซาเบลลา เนลตัน (อังกฤษ: Isabella Nellton; เกิด 11 มีนาคม พ.ศ. 2503) เป็นนักธุรกิจ นักการทูต และนักการเมืองชาวสกอตต์ซีแลนด์ อดีตนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คนที่ 18 (ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2543–2550) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลของทอย มาร์ก ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ อดีตหัวหน้าพรรคสร้างอนาคต และอดีตผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
อิซาเบลลาเริ่มเข้าสู่วงการทางการเมืองในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535 โดยการสมัครเข้าสู่พรรคสร้างอนาคต ก่อนที่จะได้รับการเลือกตั้งในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2537 และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในปีต่อมา กระทั่งในปลาย พ.ศ. 2538 อิซาเบลลาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าพรรคสร้างอนาคต และพรรคชนะการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2539 อย่างไรก็ตาม พรรคสร้างอนาคตและพรรคร่วมรัฐบาลอื่น ๆ ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้เนื่องจากเกิดปัญหาขึ้นในกระบวนการจัดตั้งรัฐบาล รวมไปถึงมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่มีการลงมติสวนทางกับมติของพรรค กระทั่งใน พ.ศ. 2542 อิซาเบลลาได้ลาออกจากพรรคเพื่อไปก่อตั้งพรรคพลังประชาชนสกอตต์
การเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ผลปรากฏว่าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ซึ่งนำโดยอิซาเบลลาชนะการเลือกตั้ง และได้มีการจัดตั้งรัฐบาลในเดือนธันวาคมของปีเดียวกัน ทำให้อิซาเบลลาเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศ และยังเป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งที่มีอายุน้อยที่สุดในรอบ 40 ปี อิซาเบลลาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย แต่ต่อมาอิซาเบลลาได้ลาออกจากหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 และพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 21 กรกฎาคมของปีเดียวกัน จากการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปโดยที่จอห์น แอโรว์ รับช่วงการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อ
การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีซึ่งนานกว่า 6 ปีเศษทำให้อิซาเบลลาเป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดเป็นอันดับ 3 ของสกอตต์ซีแลนด์ (รองจากคาร์ล แพตเตอร์และทอย มาร์ก) และเป็นพลเรือนที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรียาวนานที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ
การดำรงตำแหน่งทางการเมือง
[แก้]อิซาเบลลาได้เข้าสู่วงการทางการเมืองโดยสมัครเข้าสู่พรรคสร้างอนาคตในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535 ขณะที่รัฐบาลทหารยังคงปกครองประเทศสกอตต์ซีแลนด์ ต่อมาอิซาเบลลาได้รับลงสมัครเลือกตั้งในมหานครมาร์ช เขต 1 ในสังกัดพรรคสร้างอนาคต หลังจากการเลือกตั้งในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2537 ผลปรากฏว่าอิซาเบลลาได้รับเลือกตั้งและเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มหานครมาร์ช เขต 1) และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสกอตต์ซีแลนด์ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2538 หลังจากการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี (ทอย มาร์ก) และคณะรัฐมนตรี
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 หลังจากที่จอห์น สกอตต์ลาออกจากหัวหน้าพรรคสร้างอนาคต มติในที่ประชุมของพรรคได้เลือกให้อิซาเบลลาเป็นหัวหน้าพรรคสร้างอนาคต และต่อมาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2539 อิซาเบลลาได้สมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรค
การเลือกตั้งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2539 พรรคสร้างอนาคตซึ่งเธอดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคในขณะนั้นได้รับจำนวนที่นั่งมากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎรของสกอตต์ซีแลนด์ ด้วยจำนวนที่นั่ง 171 ที่นั่ง อย่างไรก็ตาม ในการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีซึ่งมีการเสนอชื่อ 2 คน คืออิซาเบลลาและไมเคิล แอโรว์ เนื่องจากพรรคที่ร่วมจัดตั้งรัฐบาลซึ่งนำโดยอิซาเบลลาได้รับเสียงสนับสนุนน้อยกว่า จึงทำให้ไมเคิล แอโรว์ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี และมีการแต่งตั้งให้อิซาเบลลาเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ก่อนที่จะประกาศลาออกจากพรรคสร้างอนาคตและตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2542 เพื่อก่อตั้งพรรคพลังประชาชนสกอตต์
ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
[แก้]หลังจากสภาผู้แทนราษฎรครบวาระ การเลือกตั้งในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ผลปรากฏว่าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ซึ่งอิซาเบลลาเป็นผู้ก่อตั้งและดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคได้รับจำนวนที่นั่งมากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎรด้วยจำนวนที่นั่ง 243 ที่นั่ง และได้ร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับพรรคสร้างอนาคต พรรคชาติพัฒนา พรรคก้าวหน้า พรรครวมพลังประชาชน พรรครวมชาติสกอตต์ และพรรคประชาชนรุ่นใหม่ อิซาเบลลาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีหลังจากการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2543 และคณะรัฐมนตรีทั้งหมดได้รับการแต่งตั้งในวันที่ 10 ธันวาคมของปีเดียวกัน
ขณะที่อิซาเบลลาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยแรก รัฐบาลได้มีนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมที่โดดเด่นจำนวนมาก ได้แก่ การผลิตและส่งเสริมผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ ในชื่อนโยบาย สกอตต์กูดส์ (Scott Goods), นโยบายการลดค่าครองชีพ ชีปสกอตต์ (Cheap Scott), รวมไปถึงนโยบายทางการแพทย์ ในชื่อ Medlow Three (นโยบายค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 3 ดอลลาร์) และยังมีนโยบายการฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังจากวิกฤตการณ์การเงินในปี 2540 ถึง 2541 โดยในสมัยแรกที่อิซาเบลลาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เศรษฐกิจสกอตต์ซีแลนด์ขยายตัวเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 6.1 ต่อปี (2544 ถึง 2547) โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายการลงทุนภายในประเทศโดยเฉพาะการลงทุนภาคเอกชนเป็นหลัก และการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเธอในสมัยแรกได้รับการชื่นชมเป็นอย่างมาก และอิซาเบลลาสามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้จนครบวาระในสมัยแรก
ระหว่างที่อิซาเบลลาดำรงตำแหน่งในสมัยแรก ในช่วงต้นรัฐบาลของเธอต้องประสบกับปัญหาการชะลอตัวทางเศรษฐกิจจากวิกภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม ซึ่งกระทบต่อการส่งออกสินค้า ภาคอุตสาหกรรม และการบริโภคภายในประเทศตั้งแต่ไตรมาสที่สองของปี 2544 จนถึงไตรมาสแรกปี 2545 และต่อมารัฐบาลของเธอต้องเผชิญกับการระบาดทั่วของโรคซาร์ส (SARS; กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง) ภายในประเทศ ซึ่งทำให้มีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนกว่า 800 คนทั่วประเทศ โดยการระบาดดังกล่าวดำเนินตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงมิถุนายน 2546 โดยในระหว่างนี้รัฐบาลได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินก่อนที่จะยกเลิกในเดือนพฤษภาคมของปีเดียวกัน รวมไปถึงผลกระทบจากการปรับตัวสูงขึ้นของราคาเชื้อเพลิงและน้ำมันซึ่งเป็นผลกระทบมาจากสงครามอิรัก
ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 หลังจากการเลือกตั้งทั่วไป ผลปรากฏว่าพรรคได้รับจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดอีกครั้ง โดยเพิ่มขึ้นเป็น 269 ที่นั่ง และการจัดตั้งรัฐบาลในครั้งนี้มีพรรคร่วมรัฐบาลได้แก่ พรรคสร้างอนาคต พรรคชาติพัฒนา พรรคก้าวหน้า พรรครวมพลังประชาชน พรรครวมชาติสกอตต์ พรรคประชาชนรุ่นใหม่ และพรรคสกอตต์ก้าวหน้า และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีในวันที่ 17 มกราคม 2548 มติของรัฐสภาได้มีมติให้อิซาเบลลาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อเป็นสมัยที่ 2 และมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีทั้งหมดในวันที่ 23 มกราคม 2548
อย่างไรก็ตาม การดำรงตำแหน่งในสมัยที่ 2 ของเธอนั้นเริ่มเกิดปัญหาทางการเมืองภายในประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะการชุมนุมต่อต้านรัฐบาลจากกลุ่มที่สนับสนุนพรรคชาติประชาชน และเศรษฐกิจโดยรวมขยายตัวน้อยลงเมื่อเทียบกับสมัยแรกของอิซาเบลลา (ขยายตัวร้อยละ 5.2 ระหว่างปี 2548 ถึง 2550) ปัญหาดังกล่าวทำให้อิซาเบลลาไม่สามารถดำรงตำแหน่งจนครบวาระในสมัยที่ 2 นี้ได้ ทำให้อิซาเบลลาต้องประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 20 พฤษภาคม 2550 พร้อมกับลาออกจากหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ และให้จอห์น แอโรว์ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแทน และหลังจากการเลือกตั้งในเดือนมิถุนายน 2550 พรรคยังคงชนะการเลือกตั้งอย่างต่อเนื่องโดยได้รับจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรมากถึง 206 ที่นั่ง และพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 21 กรกฎาคม 2550 หลังจากการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี มติรัฐสภามีมติให้จอห์น แอโรว์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถัดจากเธอ เมื่อรวมทั้งสองวาระอิซาเบลลาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีทั้งหมดเป็นเวลา 6 ปีเศษ ซึ่งทำให้อิซาเบลลาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนานเป็นลำดับที่ 3 รองจากคาร์ล แพตเตอร์ และทอย มาร์ก
Madelyn
[แก้]เมดเดอร์ลีน เอลลา | |
---|---|
นายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คนที่ 25 | |
ดำรงตำแหน่ง 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 – 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (4 ปี 15 วัน) | |
ประธานาธิบดี | |
รอง | |
ก่อนหน้า | โดมินิก เซนต์ |
ถัดไป | จูเลีย บริเอล |
รองนายกรัฐมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 – 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (2 ปี 159 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | เบนจามิน คลาร์ก |
ดำรงตำแหน่ง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 – 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (2 ปี 325 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โดมินิก เซนต์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ | |
ดำรงตำแหน่ง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 – 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (2 ปี 325 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โดมินิก เซนต์ |
ก่อนหน้า | ทิม ฮาร์วาร์ด |
ถัดไป | ไอรีน เซนต์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข | |
ดำรงตำแหน่ง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 – 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (6 ปี 5 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | เบนจามิน คลาร์ก โจนาธาน ซาร์ต |
ก่อนหน้า | เบนจามิน คลาร์ก |
ถัดไป | นีลเซน โควล์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 มหานครมาร์ช สกอตต์ซีแลนด์ |
ศาสนา | คริสต์ |
พรรคการเมือง | แนวหน้าอนาคต (ตั้งแต่ 2552) |
ความสูง | 1.72 m (5 ft 7 1⁄2 in) |
คู่สมรส | แมนต์ เอลลา (สมรส 2558) |
บุพการี |
|
ญาติ | อันโตนี เอลลา (พี่ชาย) |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ช |
ทรัพย์สินสุทธิ | 8.34 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
เมดเดอร์ลีน เอลลา (อังกฤษ: Madelyn Ella; เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) เป็นนักการเมือง นักการทูตชาวสกอตต์ซีแลนด์ เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คนที่ 25 (ระหว่าง พ.ศ. 2563–2567) เคยเป็นรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลโดมินิก เซนต์ (ระหว่าง พ.ศ. 2560-2563) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของสกอตต์ซีแลนด์ในรัฐบาลของเบนจามิน คลาร์กและโจนาธาน ซาร์ต (ระหว่าง พ.ศ. 2554–2560)
เธอเริ่มเข้าสู่วงการทางการเมืองในเดือนมีนาคม 2552 โดยการสมัครเข้าพรรคแนวหน้าอนาคต ต่อมาหลังการเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายน 2552 เธอได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งในพื้นที่นครมาร์ช เขต 2 ก่อนที่เธอจะได้รับให้ดำรงตำแหน่งเป็นรองหัวหน้าพรรคในปี 2554 และหลังจากที่เบนจามิน คลาร์กได้มีการปรับคณะรัฐมนตรีในเดือนกรกฎาคม 2554 (ขณะที่เธอมีอายุเพียง 25 ปี) เธอได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กระทั่งในการเลือกตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2556 ชื่อของเธอปรากฏอยู่ในบัญชีรายชื่อของพรรคแนวหน้าอนาคต และเธอยังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขต่อไปจนถึงเดือนกรกฎาคม 2560 จนกระทั่งเมื่อโดมินิก เซนต์เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เธอได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในเดือนกันยายนของปีเดียวกันนี้ หลังจากเบนจามิน คลาร์กได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคแนวหน้าอนาคต ในที่ประชุมของพรรคมีมติให้เธอดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคต่อมา
หลังจากการเลือกตั้งในเดือนพฤษภาคม 2563 พรรคแนวหน้าอนาคตซึ่งมีเมดเดอร์ลีนเป็นหัวหน้าพรรค ได้รับที่นั่งมากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร มติพรรคร่วมรัฐบาลได้มีมติให้เสนอชื่อเธอเป็นนายกรัฐมนตรีถัดจากโดมินิก เซนต์ กระทั่งในการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีในวันที่ 4 มิถุนายนของปีเดียวกันนี้ ผลปรากฏว่าได้รับการเห็นชอบจากรัฐสภา และได้มีการประกาศการแต่งตั้งให้เธอเป็นนายกรัฐมนตรีในวันเดียวกัน และมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีในวันที่ 9 มิถุนายน 2563 การดำรงตำแหน่งดังกล่าวทำให้เธอเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่งนายกซึ่งมีอายุน้อยที่สุดนับตั้งแต่รัฐบาลของอิซาเบลลา เนลตัน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนที่สองในประวัติศาสตร์สกอตต์ซีแลนด์
ประวัติ
[แก้]Jonathan
[แก้]โจนาธาน ซาร์ต | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
นายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คนที่ 23 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (3 ปี 211 วัน) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประธานาธิบดี | มาร์ก เวร์เนอร์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รอง | นาธาน เควสต์ มาร์กาเรต โคลต์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ก่อนหน้า | เบนจามิน คลาร์ก | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ถัดไป | โดมินิก เซนต์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 23 ตุลาคม พ.ศ. 2556 – 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 (3 ปี 212 วัน) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รอง | มาร์ก เวร์เนอร์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ก่อนหน้า | นาธาน เควสต์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ถัดไป | โดมินิก เซนต์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลส่วนบุคคล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกิด | 7 กันยายน พ.ศ. 2515 รัฐซินดี สกอตต์ซีแลนด์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ศาสนา | ไม่นับถือศาสนา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พรรคการเมือง | อิสระ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | พลังประชาชนสกอตต์ (2547–2567) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความสูง | 1.78 m (5 ft 10 in) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
บุพการี |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ญาติ | ไอรีน เซนต์ (น้องสาว) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ช | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทรัพย์สินสุทธิ | 2.69 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โจนาธาน ซาร์ต (อังกฤษ: Jonathan Sart; เกิด 7 กันยายน พ.ศ. 2515) เป็นนักการเมืองชาวสกอตต์ซีแลนด์ อดีตนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์คนที่ 23 (ระหว่างปี 2556 ถึง 2560) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
Junior
[แก้]จูเนียร์ สวอร์ตเตอร์ | |
---|---|
ประธานาธิบดีซีแลนด์ คนที่ 20 | |
ดำรงตำแหน่ง 4 เมษายน พ.ศ. 2558 – 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (1 ปี 255 วัน) | |
รองประธานาธิบดี | จูเนียร์ เฮเลนส์ |
ก่อนหน้า | ไมค์ ชาร์ลส์ (รักษาการ) |
ถัดไป | บาร์ลัส โวลส์ |
รองประธานาธิบดีซีแลนด์ | |
ดำรงตำแหน่ง 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 – 12 มีนาคม พ.ศ. 2557 (2 ปี 17 วัน) | |
ประธานาธิบดี | ไมค์ ชาร์ลส์ |
ก่อนหน้า | จอห์น เจเนซิส |
ถัดไป | บอน คาร์เทน |
หัวหน้าพรรคซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ | |
ดำรงตำแหน่ง 24 มีนาคม พ.ศ. 2553 – 16 เมษายน พ.ศ. 2564 (11 ปี 23 วัน) | |
ก่อนหน้า | ก่อตั้งพรรค |
ถัดไป | โจ คาร์ดอน |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528 นครเคียล���า ประเทศซีแลนด์ |
พรรคการเมือง | ออลซีแลนด์ (2551–2553) ซีแลนด์เดเวลอปเมนต์ (2553–2564) ฟิวเจอร์ซีแลนด์ (ตั้งแต่ 2564) |
ความสูง | 1.79 m (5 ft 10 1⁄2 in) |
คู่สมรส | เจน เบร์มาเตอร์ (สมรส 2554) |
บุตร | 2 คน |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเอินเอิน มหาวิทยาลัยเคียล่า มหาวิทยาลัยจอร์จเปโดร |
ทรัพย์สินสุทธิ | 4.60 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
Jannine
[แก้]แจนนีน เมลเลอร์ | |
---|---|
รองประธานาธิบดีซีแลนด์ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 1 ธันวาคม พ.ศ. 2566 (0 ปี 363 วัน) ดำรงตำแหน่งร่วมกับ | |
ประธานาธิบดี | ทอมสัน สตาร์ตบิลดิง |
ก่อนหน้า | นีล แคลโลเวย์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของซีแลนด์ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 10 มีนาคม พ.ศ. 2563 (4 ปี 263 วัน) | |
ประธานาธิบดี | |
ก่อนหน้า | โทมัส ไวแอตต์ |
ประธานแนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์ | |
ดำรงตำแหน่ง 5 มีนาคม พ.ศ. 2563 – 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 (3 ปี 263 วัน) | |
ก่อนหน้า | ไอซิก พิวทิม |
ถัดไป | ไบรอัน วิทแมน |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 มหานครเอินเอิน ประเทศซีแลนด์ |
พรรคการเมือง | ออลซีแลนด์ (2558–2567) วันฟิวเจอร์ (2567–ปัจจุบัน) |
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | แนวหน้าก้าวไกลซีแลนด์ (2560–2566) |
ความสูง | 1.68 m (5 ft 6 in) |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเอินเอิน มหาวิทยาลัยแมรีมาร์ช |
ทรัพย์สินสุทธิ | 7.74 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
Julia
[แก้]จูเลีย บริเอล | |
---|---|
นายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ คนที่ 26 | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (0 ปี 162 วัน) | |
ประธานาธิบดี | โดมินิก เซนต์ |
รอง | |
ก่อนหน้า | เมดเดอร์ลีน เอลลา |
หัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 (0 ปี 205 วัน) | |
รอง | ทิม ฮาร์วาร์ด เฮย์เดน แมกซ์เวลล์ |
ก่อนหน้า | มาร์ก เวร์เนอร์ |
รองนายกรัฐมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 5 พฤษภาคม – 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (0 ปี 45 วัน) ดำรงตำแหน่งร่วมกับ | |
นายกรัฐมนตรี | เมดเดอร์ลีน เอลลา |
ก่อนหน้า | เมดเดอร์ลีน เอลลา |
ถัดไป | อเมเลีย เมอร์ซีย์ เฟรยา วาเลอเรีย |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข | |
ดำรงตำแหน่ง 13 สิงหาคม พ.ศ. 2562 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (0 ปี 301 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โดมินิก เซนต์ |
ก่อนหน้า | นีลเซน โควล์ |
ถัดไป | นีลเซน โควล์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 17 มิถุนายน พ.ศ. 2531 มหานครมาร์ช สกอตต์ซีแลนด์ |
ศาสนา | ไม่นับถือศาสนา |
พรรคการเมือง | แนวหน้าอนาคต (2556–2563) พลังประชาชนสกอตต์ (2563–ปัจจุบัน) |
ความสูง | 1.69 m (5 ft 6 1⁄2 in) |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยนิวฟันด์เนเน่ มหาวิทยาลัยการแพทย์มาร์ช |
ทรัพย์สินสุทธิ | 1.66 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
จูเลีย บริเอล (อังกฤษ: Julia Brielle; เกิด 17 มิถุนายน 2531) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการชาวสกอตต์ซีแลนด์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสกอตต์ซีแลนด์ ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชนสกอตต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีแห่งชาติ
เธอเข้าสู่วงการทางการเมืองครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2552 โดยการสมัครเข้าสู่พรรคแนวหน้าอนาคตด้วยวัยเพียง 21 ปี ต่อมาเธอได้ลงเลือกตั้งในพื้นที่มหานครมาร์ช เขต 5 ผลปรากฏว่าหลังจากการเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายน 2552 เธอได้รับการเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตของพรรคแนวหน้าอนาคต (มาร์ช เขต 5) ต่อมาในเดือนพฤษภาคม 2553 เธอได้สมัคร เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรค อย่างไรก็ตาม ในระหว่างนี้เธอยังไม่มีบทบาททางการเมืองมากนักจนกระทั่งหลังจากการเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลในเดือนธันวาคม 2556 เธอได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีแห่งชาติ
Amelia
[แก้]อเมเลีย เมอร์ซีย์ | |
---|---|
รองนายกรัฐมนตรี | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 25 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (0 ปี 156 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | จูเลีย บริเอล |
ดำรงตำแหน่ง 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 – 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 (3 ปี 330 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | เมดเดอร์ลีน เอลลา |
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี | |
ดำรงตำแหน่ง 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 – 25 มิถุนายน พ.ศ. 2567 (2 ปี 123 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | เมดเดอร์ลีน เอลลา |
ก่อนหน้า | อเดลีน ชิลแลน |
ถัดไป | อเดลีน ชิลแลน |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ | |
ดำรงตำแหน่ง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (2 ปี 330 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โดมินิก เซนต์ |
ก่อนหน้า | โจนาธาน ซาร์ต |
ถัดไป | ทริสตัน บิตเลอร์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการการท่องเที่ยวและกีฬา | |
ดำรงตำแหน่ง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 (1 ปี 157 วัน) | |
นายกรัฐมนตรี | โจนาธาน ซาร์ต |
ก่อนหน้า | แอนโตนิโอ ทักเกอร์ |
ถัดไป | แอนโตนิโอ ทักเกอร์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 12 กันยายน พ.ศ. 2528 มหานครมาร์ช สกอตต์ซีแลนด์ |
ศาสนา | คริสต์ |
พรรคการเมือง | ประชาชนรุ่นใหม่ (ตั้งแต่ 2554) |
ความสูง | 1.71 m (5 ft 7 1⁄2 in) |
บุพการี |
|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยแกรนด์มาร์ช |
ทรัพย์สินสุทธิ | 4.22 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2567) |
Scott-Sealand
[แก้]สหพันธ์สาธารณรัฐสกอตต์ซีแลนด์ Federal Republic of Scott-Sealand (อังกฤษ) | |
---|---|
ธงชาติ | |
เมืองหลวง | บอนนี 38°53′N 77°1′W / 38.883°N 77.017°W |
เมืองใหญ่สุด | มาร์ช 40°43′N 74°0′W / 40.717°N 74.000°W |
ภาษาราชการ | ไทย อังกฤษ[a] |
กลุ่มชาติพันธุ์ (ค.ศ. 2017) |
|
ศาสนา | คริสต์ |
เดมะนิม | ชาวสกอติช |
การปกครอง | สหพันธ์สาธารณรัฐระบบรัฐสภา |
• ประธานาธิบดี | โดมินิก เซนต์ |
• นายกรัฐมนตรี | จูเลีย บริเอล |
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภาแห่งสกอตต์ |
การสถาปนา | |
• อยู่ภายใต้อาณาจักรซีแลนด์เวลดิง | จนถึง ค.ศ. 1610 |
• รวมชาติ | 11 กันยายน ค.ศ. 1610 |
• การล้มเลิกสถาบันกษัตริย์ | 13 มิถุนายน ค.ศ. 1935 |
• รัฐธรรมนูญปัจจุบัน | 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 |
พื้นที่ | |
• รวม | 3,467,135 ตารางกิโลเมตร (1,338,668 ตารางไมล์) (อันดับที่ 17) |
2.07 (ใน ค.ศ. 2017)[1] | |
ประชากร | |
• ค.ศ. 2023 ประมาณ | 290,784,708 (อันดับที่ 6) |
79.2 ต่อตารางกิโลเมตร (205.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 120) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | ค.ศ. 2024 (ประมาณ) |
• รวม | 20.868 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 2) |
• ต่อหัว | 71,168 ดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 14) |
จีดีพี (ราคาตลาด) | ค.ศ. 2024 (ประมาณ) |
• รวม | 8.700 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 2) |
• ต่อหัว | 29,921 ดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 33) |
จีนี (ค.ศ. 2022) | 31.9[3] ปานกลาง |
เอชดีไอ (ค.ศ. 2023) | 0.931[4] สูงมาก · อันดับที่ 15 |
สกุลเงิน | บอส (B) (SBS) |
เขตเวลา | UTC+7 (ICT) |
ขับรถด้าน | ซ้ายมือ |
รหัสโทรศัพท์ | +83 |
โดเมนบนสุด |
|
Marcos
[แก้]สาธารณรัฐมาร์กอส Маркос Республика (รัสเซีย) | |
---|---|
ธงชาติ | |
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | มอสกราเซีย 38°53′N 77°1′W / 38.883°N 77.017°W |
ภาษาราชการ | ภาษารัสเซีย |
กลุ่มชาติพันธุ์ (ค.ศ. 2017) |
|
ศาสนา | คริสต์ |
เดมะนิม | ชาวมาร์กอส |
การปกครอง | รัฐเดี่ยว รัฐพรรคการเมืองเดียว รัฐสังคมนิยม สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดีภายใต้เผด็จการทหารแบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ |
• ประธานาธิบดี | ซาร์เลม โซเวตสการ์กี |
• รองประธานาธิบดี | ว่าง |
สภานิติบัญญัติ | สภาสังคมนิยมแห่งชาติ |
การสถาปนา | |
• เป็นเอกราช | ค.ศ. 1921 |
• การยึดครองกรุงมอสกราเซียและเปลี่ยนการปกครองสู่สังคมนิยม | 27 เมษายน ค.ศ. 2017 |
• รัฐธรรมนูญปัจจุบัน | 19 ตุลาคม ค.ศ. 2017 |
พื้นที่ | |
• รวม | 3,467,135 ตารางกิโลเมตร (1,338,668 ตารางไมล์) (อันดับที่ 17) |
2.07 (ใน ค.ศ. 2017)[5] | |
ประชากร | |
• ค.ศ. 2017 ประมาณ | 274,584,525 (อันดับที่ 6) |
79.2 ต่อตารางกิโลเมตร (205.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 120) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | ค.ศ. 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 17.807 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 2) |
• ต่อหัว | 64,179 ดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 17) |
จีดีพี (ราคาตลาด) | ค.ศ. 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 7.380 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 2) |
• ต่อหัว | 26,598 ดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 38) |
จีนี (ค.ศ. 2017) | 33.7[3] ปานกลาง |
เอชดีไอ (ค.ศ. 2017) | 0.903[4] สูงมาก · อันดับที่ 20 |
สกุลเงิน | รูเบิล (RMC) (SBS) |
เขตเวลา | UTC+2 (ICT) |
ขับรถด้าน | ซ้ายมือ |
รหัสโทรศัพท์ | +263 |
โดเมนบนสุด |
|
Mojang (2015)
[แก้]สาธารณรัฐโมแจง Republic of Mojang (อังกฤษ) | |
---|---|
ธงชาติ | |
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | โมแจงซิตี 59°21′N 18°4′E / 59.350°N 18.067°E |
ภาษาราชการ | อังกฤษ[6] |
กลุ่มชาติพันธุ์ (2557) |
|
ศาสนา | คริสต์ |
เดมะนิม | ชาวโมแจง |
การปกครอง | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดีภายใต้คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง |
• ประธานาธิบดี | โรเบิร์ต เคย์เดน |
• รองประธานาธิบดี | วินเซนต์ ฮันเตอร์ |
สภานิติบัญญัติ | ว่าง |
การสถาปนา | |
• ได้รับเอกราชจากอาณาจักรซีแลนด์เวลดิง | 11 กันยายน ค.ศ. 1610 |
• การปฏิวัติสู่คอมมิวนิสต์ | 23 กันยายน ค.ศ. 1955 |
• กลับสู่การปกครองประชาธิปไตย | 18 ตุลาคม ค.ศ. 1974 |
• รัฐประหารครั้งล่าสุด | 28 สิงหาคม ค.ศ. 2017 |
• รัฐธรรมนูญปัจจุบัน | 17 ตุลาคม ค.ศ. 2019 |
พื้นที่ | |
• รวม | 513,120 ตารางกิโลเมตร (198,120 ตารางไมล์) (อันดับที่ 51) |
0.4 (2,230 ตารางกิโลเมตร) | |
ประชากร | |
• 2557[7] ประมาณ | 67,091,120[7] (อันดับที่ 20[7]) |
• สำมะโนประชากร 2553 | 64,785,909[8] |
132.1 ต่อตารางกิโลเมตร (342.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 88) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2558 (ประมาณ) |
• รวม | 1.107 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (อันดับที่ 22) |
• ต่อหัว | 16,081 ดอลลาร์สหรัฐ[2] |
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2558 (ประมาณ) |
• รวม | 373.536 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] |
• ต่อหัว | 5,426 ดอลลาร์สหรัฐ[2] |
จีนี (2553) | 39.4[3] ปานกลาง |
เอชดีไอ (2556) | 0.722[4] สูง · อันดับที่ 89 |
สกุลเงิน | บาท (฿) (THB) |
เขตเวลา | UTC+7 (ICT) |
ขับรถด้าน | ซ้ายมือ |
รหัสโทรศัพท์ | +66 |
โดเมนบนสุด |
โรลันโด เอเซเกียล | |
---|---|
Rolando Ezequiel | |
นายกรัฐมนตรีมาร์กอน คนที่ 44 | |
ดำรงตำแหน่ง 12 กันยายน พ.ศ. 2561 – 2 กันยายน พ.ศ. 2567 (5 ปี 356 วัน) | |
กษัตริย์ | สมเด็จพระราชินีมอนทานาที่ 2 สมเด็จพระราชาธิบดีเอสมาเอลที่ 2 |
รอง | ดูรายชื่อ
|
ก่อนหน้า | เอมิเลีย คริสโตบัล |
ถัดไป | ไซมอน เฮนรี |
หัวหน้าคณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดินมาร์กอน | |
ดำรงตำแหน่ง 8 สิงหาคม พ.ศ. 2561[b] – 7 กันยายน พ.ศ. 2567 (6 ปี 30 วัน) | |
รอง | ดูรายชื่อ
|
ก่อนหน้า | สถาปนาตำแหน่ง |
ถัดไป | ยุบเลิกตำแหน่ง |
ผู้บัญชาการทหารบกมาร์กอน | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561 (3 ปี 364 วัน) | |
ก่อนหน้า | เอมิเลียโน โฆอาควิน |
ถัดไป | อันโตนิน อาร์นัลโด |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2501 มาร์กอนซิตี ประเทศมาร์กอน |
ศาสนา | คริสต์ |
พรรคการเมือง | อิสระ |
คู่สมรส | ลูเซีย เอเซเกียล (สมรส 2557) |
บุตร | 2 คน |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | มาร์กอน |
สังกัด | กองทัพบกมาร์กอน |
ประจำการ | พ.ศ. 2521–2561 |
ยศ | พลเอก |
บังคับบัญชา | กองทัพบกมาร์กอน (ตั้งแต่ 2557) |
ผ่านศึก |
|
1.69 เมตร (5 ฟุต 6 1⁄2 นิ้ว)
7 ปี 169 วัน
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ
<ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน- ↑ "Surface water and surface water change". Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2021. สืบค้นเมื่อ 11 October 2020.
- ↑ 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 "Thailand". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 13 October 2015.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Gini Index". World Bank. สืบค้นเมื่อ 2 June 2015.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "2014 Human Development Report Summary" (PDF). United Nations Development Programme. 2014. pp. 21–25. สืบค้นเมื่อ 27 July 2014.
- ↑ "Surface water and surface water change". Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2021. สืบค้นเมื่อ 11 October 2020.
- ↑ Thailand, The World Factbook.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 "Thailand Population 2014". World Population Review. 19 October 2014. สืบค้นเมื่อ 2 March 2015.
- ↑ (ไทย) National Statistics Office, "100th anniversary of population censuses in Thailand: Population and housing census 2010: 11th census of Thailand". popcensus.nso.go.th.