ประวัติศาสตร์รัสเซีย (ค.ศ. 1991–ปัจจุบัน)
สหพันธรัฐรัสเซีย Российская Федерация | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1991–ปัจจุบัน | |||||||||
เพลงชาติ: Патриотическая песня Patrioticheskaya pesnya "เพลงรักชาติ" (1991–2000) Государственный гимн Российской Федерации Gosudarstvennyy gimn Rossiyskoy Federatsii "เพลงชาติรัสเซีย" (2000–ปัจจุบัน) | |||||||||
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | มอสโก 55°45′N 37°37′E / 55.750°N 37.617°E | ||||||||
ภาษาราชการ และภาษาประจำชาติ | รัสเซีย[2] | ||||||||
ภาษาประจำชาติ ที่ถูกรับรอง | ดูที่: ภาษาของประเทศรัสเซีย | ||||||||
กลุ่มชาติพันธุ์ (2010)[3] | |||||||||
ศาสนา (2017)[4] |
| ||||||||
เดมะนิม | ชาวรัสเซีย | ||||||||
การปกครอง | สหพันธ์ สาธารณรัฐระบบกึ่งประธานาธิบดี (1991-2012) สหพันธ์กึ่งประธานาธิบดี ภายใต้ ระบอบอำนาจนิยมแบบรวมศูนย์ (2012-ปัจจุบัน)[5][6][7][8][9] | ||||||||
ประธานาธิบดี | |||||||||
• 1991–1999 | บอริส เยลต์ซิน | ||||||||
• 2000–2008 | วลาดิมีร์ ปูติน | ||||||||
• 2008–2012 | ดมีตรี เมดเวเดฟ | ||||||||
• 2012–ปัจจุบัน | วลาดิมีร์ ปูติน | ||||||||
นายกรัฐมนตรี | |||||||||
• 1991–1992 | บอริส เยลต์ซิน | ||||||||
• 2020–ปัจจุบัน | มีฮาอิล มีชุสติน | ||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภาโซเวียตสูงสุด (1991–1993) สภารัฐธรรมนูญ (ต.ค-ธ.ค 1993) สภาสหพันธ์ (1993–ปัจจุบัน) | ||||||||
• สภาสูง | สภาโซเวียตสูงสุดของรัสเซีย (1991–1993) สภาสหพันธ์ (1993–ปัจจุบัน) | ||||||||
• สภาล่าง | สภาสาธารณรัฐแห่งโซเวียต (1991–1993) สภาดูมา (1993–ปัจจุบัน) | ||||||||
เอกราช จาก สหภาพโซเวียต | |||||||||
12 มิถุนายน 1990 | |||||||||
12 ธันวาคม 1991 | |||||||||
• เปลี่ยนชื่อ | 25 ธันวาคม 1991 | ||||||||
26 ธันวาคม 1991 | |||||||||
12 ธันวาคม 1993 | |||||||||
8 ธันวาคม 1999 | |||||||||
18 มีนาคม 2014 | |||||||||
4 กรกฎาคม 2020 | |||||||||
24 มีนาคม 2022 | |||||||||
พื้นที่ | |||||||||
• รวม | 17,098,246 ตารางกิโลเมตร (6,601,670 ตารางไมล์)[10] 17,125,191 ตารางกิโลเมตร (รวมถึงไครเมีย)[11] (อันดับที่ 1) | ||||||||
13[12] (รวมถึงหนองน้ำ) | |||||||||
ประชากร | |||||||||
• 2022 ประมาณ | (อันดับที่ 9) | ||||||||
8.4 ต่อตารางกิโลเมตร (21.8 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 181) | |||||||||
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2021 (ประมาณ) | ||||||||
• รวม | 4.328 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[14] (อันดับที่ 6) | ||||||||
• ต่อหัว | 29,485 ดอลลาร์สหรัฐ[14] (อันดับที่ 55) | ||||||||
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2021 (ประมาณ) | ||||||||
• รวม | 1.710 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[14] (อันดับที่ 11) | ||||||||
• ต่อหัว | 11,654 ดอลลาร์สหรัฐ[14] (อันดับที่ 64) | ||||||||
จีนี (2018) | 36.0[15] ปานกลาง · อันดับที่ 98 | ||||||||
เอชดีไอ (2019) | 0.824[16] สูงมาก · 52nd | ||||||||
สกุลเงิน | รูเบิลรัสเซีย (₽) (RUB) | ||||||||
เขตเวลา | UTC+2 to +12 | ||||||||
ขับรถด้าน | ขวา | ||||||||
รหัสโทรศัพท์ | +7 | ||||||||
โดเมนบนสุด | |||||||||
| |||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | รัสเซีย |
ประวัติศาสตร์รัสเซียสมัยใหม่ เริ่มต้นขึ้นเมื่อสาธารณรัฐรัสเซียแห่งสหภาพโซเวียตเริ่มได้รั��ความเป็นอิสระทางการเมืองและเศรษฐกิจมากขึ้นท่ามกลางการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในช่วงปี 1988–1991 โดยประกาศอำนาจอธิปไตยภายในสหภาพในเดือนมิถุนายน 1990 และได้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนแรกของประเทศ บอริส เยลต์ซิน ในช่วงหนึ่งปีหลังจากนั้น โดยสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียเป็นสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดในสหภาพโซเวียต แต่ไม่เคยมีความเป็นอิสระอย่างมีนัยสำคัญมาก่อน โดยเป็นสาธารณรัฐโซเวียตเพียงแห่งเดียวที่ไม่มีสาขาของพรรคคอมมิวนิสต์เป็นของตนเอง
รัสเซียโซเวียตเป็นสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดในหมู่สิบห้าสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต โดยมีส่วนแบ่งมากกว่า 60% ของจีดีพีและมากกว่า 50% ของประชากรของสหภาพโซเวียต นอกจากนี้ชาวรัสเซียยังมีอิทธิพลต่อกองทัพโซเวียตและพรรคคอมมิวนิสต์เป็นอย่างมาก ดังนั้น รัสเซียจึงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นรัฐผู้สืบทอดของสหภาพโซเวียตในเรื่องกิจการทางการทูตระหว่างประเทศ และได้สืบทอดสมาชิกภาพถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ก่อนการล่มสลายของสหภาพโซเวียต เยลต์ซินได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีของรัสเซียโซเวียตในเดือนมิถุนายน 1991 ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งแรกในประวัติศาสตร์รัสเซีย ซึ่งทำให้เขากลายเป็นผู้นำทางการเมืองของรัสเซียซึ่งรัฐผู้สืบทอดของสหภาพโซเวียต แต่สถานการณ์นี้ทำให้เกิดความวุ่นวายทางการเมือง และนำไปสู่ความพยายามรัฐประหารในเดือนสิงหาคม 1991 ที่ทหารของโซเวียตพยายามโค่นล้มมีฮาอิล กอร์บาชอฟ แม้ว่าการรัฐประหารจะล้มเหลวในที่สุด แต่สถานการณ์นี้ทำให้เกิดความไม่มั่นคงเพิ่มขึ้นในสหภาพโซเวียต เมื่อสหภาพโซเวียตใกล้จะล่มสลายในเดือนตุลาคม 1991 เยลต์ซินประกาศว่ารัสเซียจะดำเนินการปฏิรูปเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ โดยระดับจีดีพีต่อหัวได้กลับไปถึงระดับในปี 1991 ได้ในช่วงกลางทศวรรษ 2000 หลังจากการลาออกของเยลต์ซินในปี 1999 การเมืองของรัสเซียได้ถูกครอบงำโดยวลาดิมีร์ ปูติน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีและดำรงตำแหนงนายกรัฐมนตรี เศรษฐกิจของรัสเซียดีขึ้นอย่างมากนับตั้งแต่รัสเซียอยู่ภายใต้การนำของปูตินหลังจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในสมัยเยลต์ซิน แต่ปูตินยังถูกกล่าวหาอย่างกว้างขวางเรื่องการทุจริต การเป็นผู้นำแบบเผด็จการ และการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวาง
หนึ่งปีหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต กองทัพรัสเซียได้อยู่ในสภาพที่เกือบยุ่งเหยิงและระส่ำระสาย โดยความสามารถในด้านการปฏิบัติการทางทหารของรัสเซียที่เสื่อมถอยลงนี้ได้แสดงออกมาอย่างชัดเจนในสงครามเชชเนียครั้งที่หนึ่งในปี 1994 และในระหว่างนั้นได้ก่อให้เกิดความท้าทายที่สำคัญต่อความมั่นคงในระดับโลกและการควบคุมอาวุธโดยรัสเซีย โดยพิธีสารลิสบอน ได้กำหนดเอาไว้ว่าประเทศที่เป็นอดีตสาธารณรัฐในสหภาพโซเวียตจะต้องทำการปลดอาวุธนิวเคลียร์ทำให้ส่งผลกระทบอย่างยิ่งโดยเฉพาะคาซัคสถาน เนื่องจากเป็นเจ้าภาพเก็บอาวุธนิวเคลียร์จำนวนมากหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต[17] อย่างไรก็ตาม ประเทศที่เป็นอดีตสาธารณรัฐในสหภาพโซเวียตยังคงสามารถรักษาความร่วมมือข้ามชาติในด้านการทหาร เช่น ความรับผิดชอบร่วมกันสำหรับโครงสร้างพื้นฐานด้านจรวดและอวกาศ เช่น ไบโครนูร์คอสโมโดรม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Taylor & Francis (2020). "Republic of Crimea". The Territories of the Russian Federation 2020. Routledge. ISBN 978-1-003-00706-7.
Note: The territories of the Crimean peninsula, comprising Sevastopol City and the Republic of Crimea, remained internationally recognised as constituting part of Ukraine, following their annexation by Russia in March 2014.
- ↑ "Chapter 3. The Federal Structure". Constitution of Russia. สืบค้นเมื่อ 22 April 2015.
1. The Russian language shall be a state language on the whole territory of the Russian Federation.
- ↑ "ВПН-2010". perepis-2010.ru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 January 2012.
- ↑ "Religious Belief and National Belonging in Central and Eastern Europe". Pew Research Center. 10 May 2017. สืบค้นเมื่อ 9 September 2017.
- ↑ Håvard Bækken (21 November 2018). Law and Power in Russia: Making Sense of Quasi-Legal Practices. Routledge. pp. 64–. ISBN 978-1-351-33535-5.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อcia
- ↑ Central Intelligence Agency (25 May 2021). The CIA World Factbook 2021-2022. Simon and Schuster. ISBN 978-1-5107-6382-1.
- ↑ Shinichiro Tabata, บ.ก. (17 December 2014). Eurasia's Regional Powers Compared - China, India, Russia. Routledge. p. 74. ISBN 978-1-317-66787-2.
- ↑ Saul Bernard Cohen (2014). Geopolitics: The Geography of International Relations (3 ed.). Rowman & Littlefield. p. 217. ISBN 978-1-4422-2351-6. OCLC 1020486977.
- ↑ "World Statistics Pocketbook 2016 edition" (PDF). United Nations Department of Economic and Social Affairs. Statistics Division. สืบค้นเมื่อ 24 April 2018.
- ↑ "Information about availability and distribution of land in the Russian Federation as of 1 January 2017 (by federal subjects of Russia)" Сведения о наличии и распределении земель в Российской Федерации на 1 January 2017 (в разрезе субъектов Российской Федерации). Rosreestr. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-23. สืบค้นเมื่อ 2022-03-17.
- ↑ "The Russian federation: general characteristics". Federal State Statistics Service. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2011. สืบค้นเมื่อ 5 April 2008.
- ↑ 13.0 13.1 Оценка численности постоянного населения на 1 января 2021 г. и в среднем за 2020 г. [Estimated population as of 1 January 2021 and on the average for 2020] (XLS). Russian Federal State Statistics Service (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 6 April 2021.
- ↑ 14.0 14.1 14.2 14.3 "World Economic Outlook Database, April 2021". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 17 April 2020.
- ↑ "GINI index (World Bank estimate) – Russian Federation". World Bank. สืบค้นเมื่อ 22 March 2020.
- ↑ "Human Development Report 2020" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. 15 December 2020. สืบค้นเมื่อ 15 October 2022.
- ↑ Kucera, Joshua (2013-05-15). "Why Did Kazakhstan Give Up Its Nukes?". EurasiaNet. สืบค้นเมื่อ 2016-06-23.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน