ข้ามไปเนื้อหา

นิภา พริ้งศุลกะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นิภา พริ้งศุลกะ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด4 มกราคม พ.ศ. 2479 (88 ปี)
อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรคการเมืองประชาธิปัตย์ (2535–ปัจจุบัน)
คู่สมรสกำธร พริ้งศุลกะ

นิภา พริ้งศุลกะ (เกิด 4 มกราคม พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี 7 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัตย์

ประวัติ

[แก้]

นิภา พริ้งศุลกะ เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2479 เป็นบุตรของนายนันท์ กับนางเตือนใจ[1] สำเร็จการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ์ จาก โรงพยาบาลหญิง (วิทยาลัยพยาบาล) และ ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาพัฒนาชุมชน จาก สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี สมรสกับนายแพทย์กำธร พริ้งศุลกะ มีบุตรชาย คือ นายธีรภัทร พริ้งศุลกะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี เขต 6 พรรคประชาธิปัตย์

งานการเมือง

[แก้]

นิภา ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกใน เดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกติดต่อกันรวม 7 ครั้ง

พ.ศ. 2554 ได้ย้ายตนเองมาลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 124[2] แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

[แก้]

นิภา พริ้งศุลกะ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด 7 สมัย คือ

  1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
  2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
  3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
  4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
  5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
  6. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
  7. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประวัติผู้สมัคร ส.ส.[ลิงก์เสีย] กรมการปกครอง
  2. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (พรรคประชาธิปัตย์)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-14. สืบค้นเมื่อ 2022-05-14.
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2022-05-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชี���, เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๑๙ ข หน้า ๗, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2022-10-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๒๓, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓