ข้ามไปเนื้อหา

ตระกูลทากัตสึกาซะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตระกูลทากัตสึกาซะ
เชื้อสายตระกูลโคโนเอะ (ตระกูลฟูจิวาระ)
ตำแหน่งหลายแบบ
ผู้นำคนแรกทากัคสึกาซะ คาเนฮิระ
ก่อตั้งศตวรรษที่ 13
ล่มสลายยังมีอยู่
ตระกูลย่อย
  • ตระกูลโยชิอิ

ตระกูลทากัตสึกาซะ (ญี่ปุ่น: 鷹司家โรมาจิTakutsukasa-ke) เป็นกลุ่มญาติชนชั้นสูงของญี่ปุ่น[1] ทากัตสึกาซะเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลฟูจิวาระ.[2] และเป็นหนึ่งในตระกูลผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทั้งห้าจากเซ็ชโชและคัมปากุ[1]

ตราตระกูลทากัตสึกาซะคือโบตั๋น[3]

ประวัติ

[แก้]

ตระกูลก่อตั้งโดยฟูจิวาระ โนะ คาเนฮิระ (1228–1294) ซึ่งเป็นบุตรชายคนที่หกของโคโนเอะ อิเอซาเนะ เขาเป็นคนแรกที่ใช้ชื่อนี้[1] ชื่อตระกูลมาจากเขตหนึ่งของ เกียวโต ที่พวกเขาอาศัยอยู่ ในช่วงแรก ตระกูลทากาสึกาซะสูญสิ้นไปในยุคเซ็งโงกุ ตามมาด้วยการเสียชีวิตของทาดาฟูยุ หัวหน้าตระกูลคนที่ 13 ใน ค.ศ. 1546 ต่อมาใน ค.ศ. 1579 ด้วยความช่วยเหลือจากโอดะ โนบูนางะ[4] บุตรชายคนที่สามของนิโจ ฮารูโยชิ ได้ใช้ชื่อทากัตสึกาซะ โนบูฟาซะ และฟื้นฟูตระกูล[5] ทากาโกะ บุตรสาวของโนบูฟูซะ แต่งงานกับอิเอมิตสึ โชกุนองค์ที่สามแห่งรัฐบาลเอโดะ

ใน ค.ศ. 1884 ฮิโรมิจิ หัวหน้าตระกูลทากัตสึกาซะ กลายเป็นเจ้าชายตามระบบคาโซกุ[1] ใน ค.ศ. 1950 เจ้าหญิงคาซูโอะ พระธิดาองค์ที่สามของจักรพรรดิโชวะ ได้อภิเษกสมรสกับโทชิมิจิ ทากัตสึกาซะ แต่ไม่มีโอรสธิดาแม้แต่องค์เดียว[5]

พงศาวลี

[แก้]

ช่วงแรก (ค.ศ. 1252-1546)

[แก้]
รับเป็นบุตรบุญธรรม
โคโนเอะ อิเอซาเนะ
(ค.ศ. 1179-1243)
คาเนฮิระ(1)
(ค.ศ. 1228-1294)
โมโตตาดะ(2)
(ค.ศ. 1247-1313)
คาเนตาดะ(3)
(ค.ศ. 1262-1301)
ฟูยูฮิระ(4)
(ค.ศ. 1275-1327)
ฟูยูโนริ(5)
(ค.ศ. 1295-1337)
โมโรฮิระ(6)
(ค.ศ. 1310-1353)
ฟูยูมิจิ(7)
(ค.ศ. 1330-1386)
ฟูยูอิเอะ(8)
(ค.ศ. 1357-1425)
ฟูซาฮิระ(9)
(ค.ศ. 1408-1472)
มาซาฮิระ(10)
(ค.ศ. 1445–1517)
คาเนซูเกะ(11)
(ค.ศ. 1480–1552)
ทาดาฟูยุ(12)
(ค.ศ. 1509-1546)

[5] [6]

ช่วงที่สอง (ค.ศ. 1579-ปัจจุบัน)

[แก้]
รับเป็นบุตรบุญธรรม
นิโจ ฮารุโยชิ
(1526-1579)
โนบูฟูซะ(13)
(ค.ศ. 1565-1658)
โนบูฮิซะ(14)
(ค.ศ. 1590-1621)
มัตสึไดระ โนบูฮิระ [ja]
(ค.ศ. 1636-1689)
โนริฮิระ(15)
(ค.ศ. 1609-1668)
ตระกูลทากัตสึกาซะ-มัตสึไดระ
ฟูซาซูเกะ(16)
(ค.ศ. 1637-1700)
คูโจ คาเนฮารุ
(ค.ศ. 1641-1677)
โคโนเอะ อิเอฮิโระ
(ค.ศ. 1667-1736)
คาเนฮิโระ(17)
(ค.ศ. 1659-1725)
อิจิโจ คาเนกะ
(ค.ศ. 1693-1751)
คูโจ ซูเก็ตสึงุ
(ค.ศ. 1669-1730)
ฟูซาฮิโระ(18)
(ค.ศ. 1710-1730)
คูโจ ยูกิโนริ
(ค.ศ. 1700-1728)
จักรพรรดิฮิงาชิยามะ
(ค.ศ. 1675-1710)
ฮิซาซูเกะ(19)
(ค.ศ. 1726-1733)
โมโตเตรุ(20)
(ค.ศ. 1727-1743)
นิโจ มูเนโมโตะ
(ค.ศ. 1727-1754)
เจ้าชายนาโอฮิโตะ [ja]
(ค.ศ. 1704-1753)
ซูเกฮิระ(21)
(ค.ศ. 1737-1813)
นิโจ ฮารูตากะ
(ค.ศ. 1754-1826)
มาซาฮิโระ(22)
(ค.ศ. 1761-1841)
มาซามิจิ(23)
(ค.ศ. 1789-1868)
คูโจ ฮิซาตาดะ
(ค.ศ. 1798-1871)
ซูเกฮิโระ(24)
(ค.ศ. 1807-1878)
ฮิโรมิจิ(25)
(ค.ศ. 1855-1918)
โนบูซูเกะ(26)
(ค.ศ.1890–1959)
โทชิมิจิ(27)
(ค.ศ. 1923-1966)
ฟูมิโกะ มัตสึไดระ
(ค.ศ. 1924-2005)
โนริตาเกะ มัตสึไดระ
(ค.ศ. 1919-1945)
นาโอตาเกะ [ja](28)
(เกิดใน ค.ศ. 1945)
นาโอมิจิ [ja]
(เกิดใน ค.ศ. 1974)

[5][6][7]

ตระกูลทากัตสึกาซะ-มัตสึไดระ (โยชิอิ)

[แก้]

ตระกูลทากัตสึกาซะ-มัตสึไดระ (ญี่ปุ่น: 鷹司松平家โรมาจิTakatsukasa-Matsudaira-ke) เป็นสาขาตระกูลทั้งตระกูลทากัตสึกาซะกับตระกูลคิชู-โทกูงาวะ ก่อตั้งโดยมัตสึไดระ โนบูฮิระ [ja] ลูกชายคนสุดท้องของทากัตสึกาซะ โนบูฟูซะ[8] เนื่องจากพี่/น้องสาวของเขาแต่งงานกับ โชกุน โทกูงาวะ อิเอมิตสึตั้งแต่ ค.ศ. 1623 โนบูฮิระจึงย้ายไปที่เอโดะใน ค.ศ. 1650; อิเอมัตสึทรงต้อนรับพระเทวันและยกตำแหน่งฮาตาโมโตะแก่เขา[9][10] ใน ค.ศ. 1653 โนบูฮิระแต่งงานกับมัตสึฮิเมะ ธิดาองค์ที่สองของโทกูงาวะ โยริโนบุ[11] เนื่องด้วยความสัมพันธ์อันใกล้ชิดกับตระกูลโทกูงาวะ ทำให้โนบูฮาระยังคงใช้สกุล มัตสึไดระ ถึงปีหน้า[10][12] ในระหว่างยุคเมจิ มีการเปลี่ยนชื่อตระกูลเป็น โยชิอ��� (吉井) ตามที่ดินที่มอบให้ในระบบศักดินาในยุคเอโดะ[11][12]

ยูกิ ฮิเดยาซุ
(ค.ศ. 1574-1607)
โทกูงาวะ โยริโนบุ
(ค.ศ. 1602-1671)
ทากัตสึกาซะ โนบูฟูซะ
(ค.ศ. 1565-1658)
มัตสึไดระ นาโอมาซะ [ja]
(ค.ศ. 1601-1666)
มัตสึไดระ โยริซูมิ [ja]
(ค.ศ. 1641-1711)
มัตสึฮิเมะมัตสึไดระ โนบูฮิระ [ja](1)
(ค.ศ. 1636-1689)
มัตสึไดระ ชิกาโยชิ [ja]
(ค.ศ. 1632-1717)
มัตสึไดระ โนบูมาซะ [ja](2)
(ค.ศ. 1661-1691)
มัตสึไดระ ชิกาโตกิ [ja]
(ค.ศ. 1659-1702)
โทกูงาวะ มูเนนาโอะ [ja]
(ค.ศ. 1682-1757)
มัตสึไดระ โนบูกิโยะ [ja](3)
(ค.ศ. 1689-1724)
มัตสึไดระ ชิกาโตโมะ [ja]
(ค.ศ. 1681-1728)
มัตสึไดระ โนบูโตโมะ [ja](4)
(ค.ศ. 1712-1760)
มัตสึไดระ นางาตากะ [ja]
(ค.ศ. 1725-1762)
มัตสึไดระ โนบูอาริ [ja](5)
(ค.ศ. 1739-1793)
มัตสึไดระ โนบูอากิระ [ja](6)
(ค.ศ. 1745-1775)
มัตสึไดระ ยาซูจิกะ [ja]
(ค.ศ. 1752-1794)
มัตสึไดระ โนบูชิเงะ [ja](7)
(ค.ศ. 1767-1800)
มัตสึไดระ โนบูมิตสึ [ja](8)
(ค.ศ. 1775-1803)
มัตสึไดระ โคเรกาตะมัตสึไดระ โนบูโยชิ [ja](9)
(ค.ศ. 1798-1841)
มัตสึไดระ ฟูซากูระ
ซาโตฮิเมะ
(ค.ศ. 1828-1835)
มัตสึไดระ โนบูตาดะ [ja](10)
(ค.ศ. 1826-1847)
อูเอซูงิ นาริโนริ
(ค.ศ. 1820-1889)
มัตสึไดระ โนบูโอกิ [ja](11)
(ค.ศ. 1824-1890)
ลูกสาว
โยชิอิ โนบูโนริ [ja](12)
(ค.ศ. 1853-1908)
โยชิอิ โนบูโตมิ [ja](13)
(ค.ศ. 1876-1923)
โยชิอิ โนบูยาซุ [ja](14)
(เกิดใน ค.ศ. 1911)

[13]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Papinot, Jacques Edmond Joseph. (1906). Dictionnaire d’histoire et de géographie du Japon; Papinot, (2003). "Nijō," Nobiliare du Japon, p. 58; retrieved 2013-8-13.
  2. Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Takatsukasa-ke" in Japan Encyclopedia, p. 937.
  3. Amimoto, Mitsuyoshi (2014-07-10). カラー版 イチから知りたい! 家紋と名字. 西東社 (SEITOSHA). pp. 12–13. ISBN 9784791623075.
  4. 世界大百科事典, 第 17 卷. 平凡社. 1988. ISBN 9784582022001. สืบค้นเมื่อ 12 October 2019.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "鷹司家(摂家)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-24. สืบค้นเมื่อ 2020-11-22.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  6. 6.0 6.1 "近衛(近衞)家(摂家)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-26. สืบค้นเมื่อ 2020-11-22.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  7. "二条(二條)家(摂家)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-23. สืบค้นเมื่อ 2020-11-22.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  8. 近藤, 安太郎 (1989). 系図研究の基礎知識―家系に見る日本の歴史. 近藤出版社. pp. 1951, 2400. ISBN 978-4772502658.
  9. Kawaguchi, Sunao (2010). お江と徳川秀忠101の謎. PHP文庫. p. 31. ISBN 978-4569675633.
  10. 10.0 10.1 Kitagawa, Shunji (1884). 日本藩史: 卷之1-8, 第 1-8 期. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  11. 11.0 11.1 日本歴史大辞典 第 19 卷. 河出書房. 1959.
  12. 12.0 12.1 現代華族譜要. 日本史籍協会. 1929. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  13. "徳川(德川)氏(御三家・紀伊徳川家)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-05. สืบค้นเมื่อ 2020-11-22.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]