ฉางชา
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ฉางชา 长沙市 | |
---|---|
สถานที่ต่าง ๆ ในนครฉางชา | |
สมญา: "星城" (เมืองดวงดาว) | |
คำขวัญ: "心忧天下,敢为人先" (ห่วงใยโลก กล้าที่จะเป็นผู้ริเริ่ม) | |
ที่ตั้งของนครฉางชาในมณฑลหูหนาน | |
พิกัด (ศูนย์ราชการนครฉางชา): 28°13′41″N 112°56′20″E / 28.228°N 112.939°E | |
ประเทศ | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
มณฑล | หูหนาน |
ศูนย์กลางการปกครอง | เขตเยฺว่ลู่ |
เขตการปกครอง | 9 เขตการปกครองระดับเทศมณฑล, 172 เขตการปกครองระดับตำบล |
การปกครอง | |
• เลขาธิการพรรค | หู เหิงหฺวา |
• นายกเทศมนตรี | เจิ้ง เจี้ยนซิน |
พื้นที่ | |
• นครระดับจังหวัด | 11,819 ตร.กม. (4,563 ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง (2017)[1] | 1,199.84 ตร.กม. (463.26 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 63 เมตร (207 ฟุต) |
ประชากร (2018) | |
• นครระดับจังหวัด | 8,154,700 คน |
• ความหนาแน่น | 690 คน/ตร.กม. (1,800 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง (2017)[1] | 5,320,300 คน |
• ความหนาแน่นเขตเมือง | 4,400 คน/ตร.กม. (11,000 คน/ตร.ไมล์) |
• อันดับในประเทศจีน | อันดับที่ 19 |
ชนชาติ | |
• ฮั่น | 99.22% |
• ชนกลุ่มน้อย | 0.78% |
เขตเวลา | UTC+08:00 (เวลามาตรฐานจีน) |
รหัสไปรษณีย์ | 410000 |
รหัสพื้นที่ | 0731 |
รหัส ISO 3166 | CN-HN-01 |
จีดีพีรวม (2018) | 1.1 ล้านล้านเหรินหมินปี้ 166 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] |
จีดีพีต่อหัว (2018) | 139,000 เหรินหมินปี้ 20,996 ดอลลาร์สหรัฐ |
อัตราการเติบโตของจีดีพี | 7.77% |
ป้ายทะเบียนรถ | 湘A 湘O (ตำรวจและหน่วยงานรัฐ) |
ต้นไม้ประจำนคร | การบูร |
ดอกไม้ประจำนคร | Azalea |
ภาษา | ภาษาจีนกลาง, ภาษาถิ่นฉางชา |
เว็บไซต์ | Changsha.gov.cn |
ฉางชา (จีนตัวย่อ: 长沙; จีนตัวเต็ม: 長沙; พินอิน: Chángshā) หรืออ่านตามเสียงฮกเกี้ยน เตียงสา เป็นเมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในมณฑลหูหนาน ในภาคกลาง-ใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ครอบคลุมพื้นที่ 11,819 km2 (4,563 sq mi) มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับเยฺว่หยางและอี้หยาง ทิศตะวันตกติดก��บโหลวตี่ ทิศใต้ติดกับเซียงถันและจูโจว และทิศตะวันออกติดกับอี๋ชุนและผิงเซียงของมณฑลเจียงซี จากข้อมูลสำมะโนปี ค.ศ. 2010 ฉางชามีผู้อยู่อาศัย 7,044,118 คน คิดเป็นร้อยละ 10.72 ของประชากรทั้งหมดของมณฑล[3] ฉางชาเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มนครหรืออภิมหานครฉางจูถัน
ประวัติศาสตร์
[แก้]การตั้งหลักปักฐานแรกที่สุดถูกค้นพบในสหัสวรรษแรกโดย 202 BC มันคือเมืองที่ตั้งป้อมระหว่างแล้ว ราชวงศ์ฮั่นคือเมืองหลวงของราชอาณาจักร ฉางชา หลุมฝังศพ Mawangdui ที่ฉลองของราชวงศ์ฮั่นแต่ถูกตั้งอยู่อีกครั้งในศตวรรษ 15 ราชวงศ์หมิงใน 1903
เศรษฐกิจ
[แก้]ในปี 2005 GDP ของฉางชาได้เติบโตที่หนึ่งเฉลี่ยของ 14% ต่อปีจาก 2001-2005 เปรียบเทียบกับชาติเฉลี่ยของ 9% ระหว่างปี 2005
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Ministry of Housing and Urban-Rural Development, บ.ก. (2019). China Urban Construction Statistical Yearbook 2017. Beijing: China Statistics Press. p. 68. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 June 2019. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
- ↑ https://baijiahao.baidu.com/s?id=1625503611699142052&wfr=spider&for=pc.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ 湖南省第六次全国人口普查 – 湖南省第六次全国人口普查主要数据公报[1]. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 29 October 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฉางชา
- คู่มือการท่องเที่ยว Changsha จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)
- เว็บไซต์ทางการนครฉางชา เก็บถาวร 2014-02-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน