ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดยโสธรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดยโสธรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

← กันยายน พ.ศ. 2535 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน331,560
ผู้ใช้สิทธิ66.21%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ บรรหาร ศิลปอาชา ชวลิต ยงใจยุทธ มนตรี พงษ์พานิช
พรรค ชาติไทย ความหวังใหม่ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2 ลดลง1

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ ทักษิณ ชินวัตร ชวน หลีกภัย
พรรค พลังธรรม ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร พ.ศ. 2538 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองยโสธร, อำเภอคำเขื่อนแก้ว, อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอค้อวัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดยโสธร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย รณฤทธิชัย คานเขต (3) 42,241
ความหวังใหม่ ประยุทธ นิจพานิชย์ (11) 37,428
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) พรชัย ไชยาวาณิชยกุล (9) 32,663
ความหวังใหม่ ถาวร บุญแท้ (12) 32,113
ประชาธิปัตย์ รัชชัย ศรีลาภ (7)* 29,812
กิจสังคม วิฑูรย์ วงษ์ไกร (13)* 19,220
พลังธรรม สมใจ ทองบุราณ (1) 4,318
พลังธรรม ณรงค์ฤทธิ์ ใจชื่น (2) 3,498
เอกภาพ สุทิน พิจารณ์ (5) 1,767
ประชาธิปัตย์ จินดา กวีนนท์ (8) 1,403
ดำรงไทย (พ.ศ. 2538) สุทิน ใจจิต (17)✔ 983
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สมศักดิ์ เทียนมงคล (10) 897
เอกภาพ รำไพ มีศิริ (6) 523
ชาติไทย ธงชัย ทองแสง (4) 393
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) บุญเลิศ สุวรรณเสนีย์ (15) 241
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) หำ บุคลัง (16) 231
กิจสังคม สมบูรณ์ โสวิสัย (14) 227
ดำรงไทย (พ.ศ. 2538) สมชัย สุนทรา (18) 104
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอเลิงนกทา, อำเภอกุดชุม, อำเภอทรายมูล, อำเภอป่าติ้ว และกิ่งอำเภอไทยเจริญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดยโสธร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ สฤษดิ์ ประดับศรี (11) 41,867
ชาติไทย พีรพันธุ์ พาลุสุข (2)✔ 31,322
ชาติไทย วิสันต์ เดชเสน (1)✔ 29,774
พลังธรรม สมบูรณ์ ทองบุราณ (5)* 25,657
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) อุดร ทองน้อย (7)✔ 21,051
เอกภาพ พูลสวัสดิ์ นาทองคำ (9) 5,085
ประชาธิปัตย์ สรรพ์สวัสดิ์ จารุภาพ (3) 4,808
พลังธรรม ประยงค์ มูลสาร (6)✔ 4,488
เอกภาพ วิเชียร สลับศรี (10) 4,050
ประชากรไทย สุวัฒน์ จิตต์จันทร์ (17) 3,763
กิจสังคม สุรีพร บุญวิทย์ชัยกุล (13) 3,145
ประชาธิปัตย์ จำลอง อาจคงหาญ (4) 1,858
กิจสังคม จ่าสิบเอก วีระศักดิ์ บุญทศ (14) 1,440
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ขจัด สุดสวาท (8) 781
ความหวังใหม่ เชษฐ์ พานิชสมบัติ (12) 677
มวลชน ชัยวัฒน์ กิจพัฒนเจริญ (15) 364
ประชากรไทย เฉลียว ทุ่มโมง (18) 108
มวลชน ประวัติ สายอุตส่าห์ (16) 70
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม
ชาติไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2538