ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน410,238
ผู้ใช้สิทธิ64.00%
  First party Second party Third party
 
Samak Sundaravej.JPG
Chatichai Choonhavan.jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
ผู้นำ สมัคร สุนทรเวช ชาติชาย ชุณหะวัณ เทียนชัย ศิริสัมพันธ์
พรรค ประชากรไทย ชาติไทย ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 3 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง2 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล
พรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถู��ตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สุชน ชามพูนท (18)* 83,009
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อุดมศักดิ์ อุชชิน (15) 82,972
ประชากรไทย ยิ่งพันธ์ มนะสิการ (1)* 79,409
ประชาธิปัตย์ สมพงษ์ พลไวย์ (19)* 56,673
กิจประชาคม จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว (4)✔ 24,667
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พยับ ปานทอง (9) 14,882
พลังธรรม พงษ์ศักดิ์ ธวัชชัยนันท์ (22) 14,173
พลังธรรม เสริมพันธ์ ทิพย์ประภา (23) 10,142
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พลตรี สลวย ไชยโกมล (8) 9,508
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จ่าสิบตำรวจ วิเชียร เพิ่มพล (7) 9,019
ประชาธิปัตย์ ยงยุทธ คนตรง (20) 6,811
พลังธรรม ประเสริฐ ขำปลอด (24) 6,329
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ปราณีต ห่านวิไล (14) 5,164
ชาติไทย สมยศ มณีเศวตร์ (17) 2,706
ประชาธิปัตย์ เอื้อมเดือน พลไวย์ (21) 2,085
ประชากรไทย กฤษดา มณีพันธุ์ (2) 1,686
กิจประชาคม พยนต์ สระทองจันทร์ (5) 1,537
ชาติไทย พุทธชาติ ศรีสัตนา (16) 1,421
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ชาระวิล ศิลประเสริฐ (12) 1,408
ประชากรไทย จักรเพชร มณีพันธุ์ (3) 1,234
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มานะ กลึงกลิ่น (13) 1,099
มวลชน วิรัตน์ สร้อยศักดิ์ (25) 1,059
เกษตรอุตสาหกรรมไทย วันชัย เดชมาก (10) 896
กิจประชาคม สังเวย แสงนาค (6) 860
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ไพโรจน์ แสงธรรม (11) 641
มวลชน จักรกฤษณ์ เกษศรี (27) 232
มวลชน มานิตย์ เกิดมั่น (26) 178
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย จุติ ไกรฤกษ์ (1) 58,386
ประชากรไทย โกศล ไกรฤกษ์ (2)✔ 51,972
ชาติไทย ประเทือง วิจารณ์ปรีชา (3)* 34,528
ชาติไทย วีระ ปัทมสิริวัฒน์ (4)* 29,626
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิริวรรณ ตันเวทติยานนท์ (8) 5,046
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมนึก แก้วหิน (7) 3,591
พลังธรรม ทองปาน เผ่าโสภา (9) 2,173
พลังธรรม เพ็ญศิริ พรหมกิ่งแก้ว (10) 2,136
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันตำรวจตรี อุทาน จำใบรัตน์ (5) 1,198
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ลักขณา จำใบรัตน์ (6) 555
มวลชน นิยม มากพันธ์ (14) 268
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เจษฎา เมฆพัฒน์ (15) 266
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประภาส พรถึง (16) 134
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ณัฐ พลยุทธ (11) 129
เกษตรอุตสาหกรรมไทย สิบโท ปรีชา ธรรมธรางกูร (12) 124
มวลชน ประสิทธิ์ มั่นถึง (13) 73
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532