ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – รอบคัดเลือกชาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – รอบคัดเลือกชาย เป็นการแข่งขันรอบคัดเลือกเพื่อคัด 16 ทีมเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น โดยแบ่งเป็นโควต้าเจ้าจัดการแข่งขัน 1 ทีม และอีก 15 ทีมคัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลทั้ง 6 ทวีป [1]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]
การคัดเลือก อ้างอิง วันที่1 ประเทศที่จัดแข่งขัน1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 7 กันยายน 2013 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019 [2] 16–30 มิถุนายน 2019  อิตาลี
 ซานมารีโน
4 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
ธงชาติสเปน สเปน
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2019 [3] 21 กันยายน – 5 ตุลาคม 2019  ฟีจี 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2019 [4] 8–22 พฤศจิกายน 2019  อียิปต์ 3 ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 [5] 8–26 มกราคม 2020  ไทย 3  เกาหลีใต้
 ซาอุดีอาระเบีย
 ออสเตรเลีย
ฟุตบอลปรีโอลิมปิกคอนเมบอล 2020 [6] 18 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020  โคลอมเบีย 2  อาร์เจนตินา
 บราซิล
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ [7] 20 มีนาคม – 1 เมษายน 2020  เม็กซิโก 2 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
รวม   16
  • ^1 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^2 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก
  • ^3 การแข่งขันจัดในโคลอมเบียและสหรัฐอเมริกา

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019

[แก้]

ทีมที่เข้ารอบคัดเลือก

[แก้]
Team Method of qualification Date of qualification Appearance Last appearance Previous best performance
 อิตาลี เจ้าภาพ 9 ธันวาคม 2016 20th 2017 (semi-finals) Champions (1992, 1994, 1996, 2000, 2004)
 สเปน Group 2 winners 6 กันยายน 2018 14th 2017 (runners-up) Champions (1986, 1998, 2011, 2013)
 ฝรั่งเศส Group 9 winners 7 กันยายน 2018 9th 2006 (semi-finals) Champions (1988)
 อังกฤษ Group 4 winners 11 ตุลาคม 2018 15th 2017 (semi-finals) Champions (1982, 1984)
 เซอร์เบีย Group 7 winners 12 ตุลาคม 2018 11th[SRB] 2017 (group stage) Champions (1978) (as Yugoslavia)[SRB]
 เยอรมนี Group 5 winners 12 ตุลาคม 2018 12th 2017 (champions) Champions (2009, 2017)
 โครเอเชีย Group 1 winners 15 ตุลาคม 2018 3rd 2004 (group stage) Group stage (2000, 2004)
 เดนมาร์ก Group 3 winners 16 ตุลาคม 2018 8th 2017 (group stage) Semi-finals (1992, 2015)
 เบลเยียม Group 6 winners 16 ตุลาคม 2018 3rd 2007 (semi-finals) Semi-finals (2007)
 โรมาเนีย Group 8 winners 16 ตุลาคม 2018 2nd 1998 (quarter-finals) Quarter-finals (1998)
 โปแลนด์ Play-off winners 20 พฤศจิกายน 2018 7th 2017 (group stage) Quarter-finals (1982, 1984, 1986, 1992, 1994)
 ออสเตรีย Play-off winners 20 พฤศจิกายน 2018 1st Debut
หมายเหตุ
  1. ^ a b Appearances include 4 as Yugoslavia and 2 as Serbia and Montenegro. Their previous best performance as Serbia was runners-up (2007).

ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2019

[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2019

[แก้]

ทีมที่เข้ารอบคัดเลือก

[แก้]
Team Appearance Previous best performance
 อียิปต์ (hosts) 3rd Third place (2011)
 แคเมอรูน 1st Debut
 กานา 1st Debut
 โกตดิวัวร์ 2nd Group stage (2011)
 มาลี 2nd Group stage (2015)
 ไนจีเรีย 3rd Champions (2015)
 แอฟริกาใต้ 3rd Third place (2015)
 แซมเบีย 2nd Group stage (2015)

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020

[แก้]

ทีมที่เข้ารอบคัดเลือก

[แก้]
Team Qualified as Appearance Previous best performance
 ไทย Hosts 3rd Group stage (2016, 2018)
 กาตาร์ Group A winners 3rd Third place (2018)
 บาห์เรน Group B winners 1st Debut
 อิรัก Group C winners 4th Champions (2013)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Group D winners 3rd Quarter-finals (2013, 2016)
 จอร์แดน Group E winners 4th Third place (2013)
 อุซเบกิสถาน Group F winners 4th Champions (2018)
 เกาหลีเหนือ Group G winners 4th Quarter-finals (2016)
 เกาหลีใต้ Group H winners 4th Runners-up (2016)
 ญี่ปุ่น Group I winners 4th Champions (2016)
 จีน Group J winners 4th Group stage (2013, 2016, 2018)
 เวียดนาม Group K winners 3rd Runners-up (2018)
 ออสเตรเลีย Group H runners-up[note 1] 4th Quarter-finals (2013)
 อิหร่าน Group C runners-up[note 1] 3rd Quarter-finals (2016)
 ซีเรีย Group E runners-up[note 1] 4th Quarter-finals (2013)
 ซาอุดีอาระเบีย Group D runners-up[note 1] 4th Runners-up (2013)

หมายเหตุ:

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 The four best runners-up qualified for the final tournament.

ทัวร์นาเมนต์คอนเมบอลปรี-โอลิมปิก 2020

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "OC for FIFA Competitions approves procedures for the Final Draw of the 2018 FIFA World Cup". FIFA.com. 14 September 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-24. สืบค้นเมื่อ 2020-03-04.
  2. "Under-21 EURO 2019: all you need to know". uefa.com. 16 October 2018.
  3. "Olympic Qualifier Draw complete". Oceania Football Confederation. 7 May 2019.
  4. "CAF confirms 2019 Total U-23 Africa Cup of Nations in Egypt will be played in November". Ghana Soccernet. 29 September 2018.
  5. "FA Thailand proposed as 2020 AFC U-23 Championship host". AFC. สืบค้นเมื่อ 30 August 2018.
  6. "Colombia será sede del Campeonato Sudamericano Preolímpico Sub-23 del 2020". conmebol.com. 14 August 2018.
  7. "Guadalajara Set to Host the 2020 Concacaf Men's Olympic Qualifying Tournament". www.concacaf.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-22. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22.