จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสโลวาเกีย พ.ศ. 2562
|
← พ.ศ. 2557 |
16 มีนาคม พ.ศ. 2562 (รอบแรก) 30 มีนาคม พ.ศ. 2562 (รอบสอง) |
พ.ศ. 2567 → |
|
ผู้ใช้สิทธิ | ร้อยละ 48.74 (รอบแรก) ร้อยละ 41.80 (รอบสอง) |
---|
|
|
|
การเลือกตั้งประธานาธิบดี จัดขึ้นในประเทศสโลวาเกียเมื่อวันที่ 16 มีนาคม และอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2562 อันเดรย์ กิสกา ประธานาธิบดีคนปัจจุบันไม่ได้ดำรงตำแหน่งต่อในสมัยที่สอง
ในรอบแรกมีผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีทั้งหมดสิบห้าคน ต่อมาผู้สมัครสองคนได้ถอนตัวอย่างเป็นทางการ แต่ยังต้องคงชื่อของพวกเขาไว้ในบัตรเลือกตั้ง ในรอบแรก ซูซานา ชาปูตอวา ผู้สมัครจากพรรคสโลวาเกียก้าวหน้าได้รับคะแนนเสียงร้อยละ 40.6 ซึ่งทิ้งห่างจากผู้สมัครคนอื่น ๆ แต่เนื่องจากได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 บวก 1 จากผู้มีสิทธิ์ออกเสียงทั้งหมดที่ได้ลงทะเบียนไว้ จึงต้องมีการเลือกตั้งรอบที่สอง มาร็อช เช็ฟชอวิช รองประธานคณะกรรมาธิการยุโรปฝ่ายกิจการสหภาพพลังงาน ซึ่งรณรงค์หาเสียงในฐานะนักการเมืองอิสระ (แต่ได้การสนับสนุนจากพรรคทิศทาง – ประชาธิปไตยสังคมนิยม) ได้คะแนนตามมาเป็นอันดับที่สอง กล่าวคือ ร้อยละ 18.7 ของคะแนนเสียงทั้งหมด จึงมีสิทธิ์เข้าชิงตำแหน่งในการเลือกตั้งรอบที่สองด้วย
ในรอบที่สอง ชาปูตอวาชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีด้วยคะแนนร้อยละ 58.4 ส่วนเช็ฟชอวิชได้คะแนนร้อยละ 41.6 ชาปูตอวาเป็นผู้หญิงคนแรกที่ได้รับการเลือกตั้งเข้าสู่ตำแหน่งดังกล่าว และจะเป็นประธานาธิบดีที่มีอายุน้อยที่สุดของสโลวาเกียเมื่อผ่านพิธีเข้ารับตำแหน่งในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562
วันที่
|
สำนัก
|
มาร็อซ เซ็ฟชอวิช
|
ซูซานา ซาปูตอวา
|
30 มีนาคม2019
|
การเลือกตั้งรอบสอง
|
41.59%
|
58.41%
|
28–29 มีนาคม 2019
|
Focus[1]
|
44.8%
|
55.2%
|
17–19 มีนาคม 2019
|
Median[2]
|
39.5%
|
60.5%
|
16 มีนาคม 2019
|
Focus[3]
|
35.6%
|
64.4%
|
26–28 กุมภาพันธ์ 2019
|
Focus[4]
|
36.0%
|
64.0%
|
27 กุมภาพันธ์ 2019
|
Restartup[5]
|
35.5%
|
64.5%
|
12–15 กุมภาพันธ์ 2019
|
AKO[6]
|
45.1%
|
54.9%
|
7–12 กุมภาพันธ์ 2019
|
Focus[7]
|
51.9%
|
48.1%
|
16–23 มกราคม 2019
|
Focus[8]
|
58.0%
|
42.0%
|
ผู้สมัคร
|
พรรค
|
รอบแรก
|
รอบสอง
|
คะแนน
|
%
|
คะแนน
|
%
|
มาร็อซ เซ็ฟชอวิช
|
สโลวาเกียก้าวหน้า
|
870,415
|
40.57
|
1,056,582
|
58.41
|
มาร็อซ เซ็ฟชอวิช
|
อิสระ
|
400,379
|
18.66
|
752,403
|
41.59
|
งดออกเสียง
|
13,495
|
–
|
38,432
|
–
|
รวมทั้งหมด
|
2,158,859
|
100
|
1,847,417
|
100
|
ผู้ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
|
4,429,033
|
48.74
|
4,419,883
|
41.80
|
ข้อมูล: Statistics.sk (1st round) เก็บถาวร 2019-03-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Statistics.sk (2nd round) เก็บถาวร 2019-04-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
|
- ↑ a.s, Petit Press. "Prieskum Focus: Čaputová by vyhrala s vyše 10-percentným náskokom". domov.sme.sk (ภาษาสโลวัก). สืบค้นเมื่อ 30 March 2019.
- ↑ "Prieskum Medianu pre RTVS: Čaputová má 60,5 percenta, Šefčovič 39,5". DennikN. สืบค้นเมื่อ 21 March 2019.
- ↑ "Exkluzívny prieskum pre TV Markíza: V druhom kole by mal dominovať jeden kandidát". Markiza. สืบค้นเมื่อ 17 March 2019.
- ↑ "2.kolo prezidentských volieb február 2019" (PDF). Focus. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-03-06. สืบค้นเมื่อ 3 March 2019.
- ↑ "Prvý prieskum bez Mistríka zachytil silnú vlnu Čaputovej". Restartup.sk (ภาษาสโลวัก). 28 February 2019. สืบค้นเมื่อ 28 February 2019.
- ↑ "Nový prezidentský prieskum: Na druhé kolo so Šefčovičom má šance Mistrík aj Čaputová". Topky.sk. 17 February 2019. สืบค้นเมื่อ 17 February 2019.
- ↑ a.s, Petit Press. "Aj Focus potvrdil rast Čaputovej, Matovič chce jej odstúpenie". domov.sme.sk (ภาษาสโลวัก). สืบค้นเมื่อ 13 February 2019.
- ↑ "Exkluzívny prieskum: Prvé reálne čísla, ktoré ukazujú, kto sa môže stať novým prezidentom". tvnoviny.sk (ภาษาสโลวัก). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-27. สืบค้นเมื่อ 3 February 2019.