ข้ามไปเนื้อหา

กระบวนการเผาไหม้ออกซิเจน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

กระบวนการเผาไหม้ออกซิเจน เป็นชุดของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นซึ่งเกิดขึ้นในดาวมวลมากที่ใช้ธาตุที่เบากว่าในแกนกลางจนหมด กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นที่อุณหภูมิประมาณ 1.5 × 109 เคลวิน / 130 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ และความหนาแน่น 1010 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น:[1]

16
8
O
 
16
8
O
 
→  28
14
Si
 
4
2
He
 
9.594 MeV
      →  31
15
P
 
1
1
H
 
7.678 MeV
      →  31
16
S
 

n
 
1.500 MeV
      →  30
14
Si
 
1
1
H
 
0.381 MeV
      →  30
15
P
 
2
1
D
 
2.409 MeV
Alternatively:
      →  32
16
S
 

γ
      →  24
12
Mg
 
4
2
He

ด้วยกระบวนการเผาไหม้นีออน แกนที่เฉื่อยชาของออกซิเจน-แมกนีเซียมก่อตัว ณ ใจกลางดาวฤกษ์ เมื่อกระบวนการเผาไหม้นีออนสิ้นสุดลง แกนกลางจะยุบตัวลงและเพิ่มอุณหภูมิขึ้นจนถึงจุดที่สามารถเผาไหม้ออกซิเจนได้ ในเวลาหกเดือนถึงหนึ่งปี ดาวฤกษ์จะใช้ออกซิเจนทั้งหมดในดาว ซึ่งก่อให้เกิดแกนกลางของดาวซึ่งเติมไปด้วยซิลิกอน แกนกลางจะเฉื่อยเพราะมันไม่มีอุณหภูมิสูงพอสำหรับกระบวนการเผาไหม้ซิลิกอน เมื่อออกซิเจนหมดไป แกนกลางจะหยุดผลิตพลังงานฟิวชั่นและยุบตัวลง การยุบตัวดังกล่าวได้เร่งอุณหภูมิภายในดาวขึ้นสูงจนสามารถเผาไหม้ซิลกอน

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]