กรดจัสโมนิก
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
(1R,2R)-3-Oxo-2-(2Z)-2-pentenyl-cyclopentaneacetic acid
| |
ชื่ออื่น
Jasmonic acid
(-)-Jasmonic acid JA | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
คุณสมบัติ | |
C12H18O3 | |
มวลโมเลกุล | 210.27 g/mol |
ความหนาแน่น | ? g/cm3 |
จุดเดือด | 160 °C at 0.7 mmHg |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กรดจัสโมนิกเป็นสารอินทรีย์��ี่พบในพืชหลายชนิดรวมทั้งในน้ำมันหอมระเหยของมะลิ และยังพบในมอสและเฟินด้วย สังเคราะห์มาจากกรดไขมันคือกรดลิโนเลนิก มีโครงสร้างใกล้เคียงกับกรดแอบไซซิก มีผลในด้านการยับยั้งการเจริญเติบโตและกระตุ้นการชราและการหลุดร่วงของใบ การลงหัว การขดของมือพืช การสุกและการสร้างเม็ดสีในผล ยับยั้งการงอกของเมล็ด ยับยั้งการเจริญของราก ยับยั้งการสังเคราะห์ด้วยแสง [1][2]
สารประกอบเอสเทอร์ของกรดจัสโมนิกเช่นก๊าซเมทิลจัสโมเนตซึ่งเป็นน้ำมันหอมระเหยในพืชออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาได้เช่นกัน เช่นกระตุ้นการทำงานของโปรตีเนสในมะเขือเทศ และชักนำการขดของมือพืช [3]
อ้างอิง
[แก้]- วันทนี สว่างอารมณ์. 2542. การเจริญและการเติบโตของพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
- สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์. 2544. สรีรวิทยาการพัฒนาการของพืช. กรุงเทพฯ: คลังนานาวิทยา.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Comprehensive Natural Products Chemistry : Polyketides and Other Secondary Metabolites Including Fatty Acids and Their Derivatives by Ushio Sankawa (Editor), Derek H. R. Barton (Editor), Koji Nakanishi (Editor) and Otto Meth-Cohn (Editor). ISBN 0-08-043153-4