ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
[[ไฟล์:Map Europe alliances 1914-en.svg|thumb|upright=2|right|แผนที่แสดงถึงเหล่าพันธมิตรต่าง ๆ ในทวีปยุโรปในช่วงต้นปี ค.ศ. 1914]] |
[[ไฟล์:Map Europe alliances 1914-en.svg|thumb|upright=2|right|แผนที่แสดงถึงเหล่าพันธมิตรต่าง ๆ ในทวีปยุโรปในช่วงต้นปี ค.ศ. 1914]] |
||
⚫ | |||
{{Sidebar |
|||
⚫ | |||
|title=เหตุการณ์ที่นำไปสู่[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] |
|||
|image=[[ไฟล์:King George I of Greece and Tsar Ferdinand of Bulgaria at Thessaloniki.jpg|250px|Sarajevo|class=notpageimage]] |
|||
|content1={{Unbulleted list| |
|||
* [[การรวมชาติเยอรมัน]] 1866–1871 |
|||
* [[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]] 1870–1871 |
|||
* [[ความร่วมมือแห่งยุโรป|ความร่วมมือแห่งยุโรปครั้งที่สอง]] 1871 |
|||
* [[วิกฤตการณ์ครั้งใหญ่ทางตะวันออก]] 1875–1878 |
|||
* [[Austro-Hungarian campaign in Bosnia and Herzegovina in 1878|การทัพในบอสเนีย]] 1878 |
|||
* [[ทวิพันธมิตร]] 1879 |
|||
* [[Military history of South Africa#Boer Wars|สงครามบูร์]] 1880–1902 |
|||
* [[Austro–Serbian Alliance of 1881|พันธมิตรออสเตรีย-เซอร์เบีย]] 1881–1903 |
|||
* [[ไตรพันธมิตร]] 1882 |
|||
* [[การประชุมเบอร์ลิน]] 1884 |
|||
* [[Bulgarian Crisis (1885–1888)|วิกฤตการณ์บัลแกเรีย]] 1885–1888 |
|||
* [[สนธิสัญญาประกันพันธไมตรี]] 1887–1890 |
|||
* [[พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย]] 1894 |
|||
* [[สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง]] 1894–1895 |
|||
* [[การแข่งขันอาวุธนาวีอังกฤษ-เยอรมนี]] 1898–1912 |
|||
* [[เหตุการณ์ฟาโชดา]] 1898 |
|||
* [[พันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น]] 1902 |
|||
* [[รัฐประหารเดือนพฤษภาคม]] 1903 |
|||
* [[สงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น]] 1904–1905 |
|||
* [[ความตกลงฉันทไมตรี]] 1904 |
|||
* [[วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่หนึ่ง]] 1905–1906 |
|||
* [[Pig War (1906–1908)|สงครามหมู]] 1906–1908 |
|||
* [[ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย]] 1907 |
|||
* [[การปฏิวัติของชาวเติร์กรุ่นเยาว์]] 1908 |
|||
* [[วิกฤตการณ์บอสเนีย]] 1908–1909 |
|||
* [[ความตกลงรักโกนีจี]] 1909 |
|||
* [[Agadir Crisis|วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่สอง]] 1911 |
|||
* [[สงครามอิตาลี-ตุรกี]] 1911–1912 |
|||
* [[สงครามบอลข่าน]] 1912–1913 |
|||
* [[การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุกฟรันทซ์ แฟร์ดีนันท์ แห่งออสเตรีย|การลอบปลงพระชนม์ฟรันทซ์ แฟร์ดีนันท์]] 1914 |
|||
* [[วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม]] 1914 |
|||
}}}} |
|||
[[ไฟล์:Kladderadatsch 1914 Der Stänker.png|thumb|upright=1.8|right|การ์ตูนการเมืองในชื่อเรื่องว่า "Der Stänker" ("ผู้ก่อเหตุตัวแสบ") ได้ถูกตีพิมพ์ในนิตยสารเสียดสีของเยอรมัน ''[[Kladderadatsch]]'' เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1914, ภาพวาดที่แสดงถึงประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปต่างได้นั่งอยู่ที่โต๊ะประชุมกัน<br>''(1)'' เหล่า[[มหาอำนาจกลาง]]ต่างต้องเอามือปิดจมูกในความรู้สึกรังเกียจที่เซอร์เบียตัวเล็กที่ได้นั่งร่วมโต๊ะ ในขณะที่รัสเซียได้แสดงท่าทีด้วยความยินดี<br>''(2)'' เซอร์เบียได้แทงข้างหลังออสเตรีย-ฮังการีท่ามกลางความตกใจของทุกคน เยอรมนีได้เสนอในการสนับสนุนแก่ออสเตรียทันที<br>''(3)'' ออสเตรียเรียกร้องต่อเซอร์เบีย ขณะที่เยอรมนียืนล้วงกระเป๋ามองอย่างสบาย โดยไม่ทันสังเกตว่ารัสเซียและฝรั่งเศสแอบตกลงกันเบื้องหลัง<br>''(4)'' ออสเตรียคว้าแขนเซอร์เบีย ขณะที่เยอรมนีมองรัสเซียที่โกรธเกรี้ยวด้วยความตระหนก จึงแอบร่วมมือกับจักรวรรดิออตโตมัน ด้านฝรั่งเศสหันไปคุยกับบริเตน<br>''(5)'' เกิดการทะเลาะกันทั่วทั้งโต๊ะ เยอรมนีกับฝรั่งเศสเผชิญหน้ากัน ขณะที่ออสเตรียกระชากเสื้อเซอร์เบียโดยมีรัสเซียเข้าขัดขวาง ด้านบริเตนลอบมองด้วยความตกใจจากด้านตรงข้าม (เป็นไปได้ว่าการ์ตูนนี้ถูกวาดก่อนบริเตนจะประกาศสงคราม) ทางขวาของภาพมีบุคคลหนึ่งจากมุมมืดข่มขู่ว่าจะเข้าร่วมด้วย (คาดว่าเป็นญี่ปุ่น)]] |
[[ไฟล์:Kladderadatsch 1914 Der Stänker.png|thumb|upright=1.8|right|การ์ตูนการเมืองในชื่อเรื่องว่า "Der Stänker" ("ผู้ก่อเหตุตัวแสบ") ได้ถูกตีพิมพ์ในนิตยสารเสียดสีของเยอรมัน ''[[Kladderadatsch]]'' เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1914, ภาพวาดที่แสดงถึงประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปต่างได้นั่งอยู่ที่โต๊ะประชุมกัน<br>''(1)'' เหล่า[[มหาอำนาจกลาง]]ต่างต้องเอามือปิดจมูกในความรู้สึกรังเกียจที่เซอร์เบียตัวเล็กที่ได้นั่งร่วมโต๊ะ ในขณะที่รัสเซียได้แสดงท่าทีด้วยความยินดี<br>''(2)'' เซอร์เบียได้แทงข้างหลังออสเตรีย-ฮังการีท่ามกลางความตกใจของทุกคน เยอรมนีได้เสนอในการสนับสนุนแก่ออสเตรียทันที<br>''(3)'' ออสเตรียเรียกร้องต่อเซอร์เบีย ขณะที่เยอรมนียืนล้วงกระเป๋ามองอย่างสบาย โดยไม่ทันสังเกตว่ารัสเซียและฝรั่งเศสแอบตกลงกันเบื้องหลัง<br>''(4)'' ออสเตรียคว้าแขนเซอร์เบีย ขณะที่เยอรมนีมองรัสเซียที่โกรธเกรี้ยวด้วยความตระหนก จึงแอบร่วมมือกับจักรวรรดิออตโตมัน ด้านฝรั่งเศสหันไปคุยกับบริเตน<br>''(5)'' เกิดการทะเลาะกันทั่วทั้งโต๊ะ เยอรมนีกับฝรั่งเศสเผชิญหน้ากัน ขณะที่ออสเตรียกระชากเสื้อเซอร์เบียโดยมีรัสเซียเข้าขัดขวาง ด้านบริเตนลอบมองด้วยความตกใจจากด้านตรงข้าม (เป็นไปได้ว่าการ์ตูนนี้ถูกวาดก่อนบริเตนจะประกาศสงคราม) ทางขวาของภาพมีบุคคลหนึ่งจากมุมมืดข่มขู่ว่าจะเข้าร่วมด้วย (คาดว่าเป็นญี่ปุ่น)]] |
||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:27, 8 พฤศจิกายน 2567
เหตุการณ์ที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง |
---|
|
วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม เป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ทางการทูตและการทหารที่เพิ่มมากขึ้นในท่ามกลางมหาอำนาจที่สำคัญของยุโรปในช่วงฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1914 ซึ่งเป็นจุดชนวนครั้งสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง วิกฤตการณ์ครั้งนี้ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 เมื่อกัฟรีโล ปรินซีป ชาวเซิร์บบอสเนีย ได้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันท์ รัชทายาทโดยสันนิษฐานของบังลังก์ออสเตรีย-ฮังการี สายสัมพันธ์ที่ซับซ้อนของพันธมิตร ควบคู่ไปกับการคาดการณ์ที่ผิดโดยผู้นำหลายคนว่าสงครามเป็นผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของพวกเขาหรือสงครามโดยทั่วไปที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น ได้ส่งผลให้เกิดการแพร่ระบาดของสงครามโดยทั่วไปในเกือบทุกประเทศในยุโรปที่สำคัญในช่วงต้นเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1914 ทุกประเทศในยุโรปที่สำคัญต่างได้มีส่วนเกี่ยวข้องในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1915
ออสเตรีย-ฮังการีได้มองว่าขบวนการเรียกร้องดินแดนชาติเดียวกันของชาวสลาฟทางตอนใต้ ที่ได้รับการสนับสนุนโดยเซอร์เบีย ที่จะเป็นภัยคุกคามต่อความเป็นเอกภาพของชาติ ภายหลังจากการลอบปลงพระชนม์ ออสเตรียได้พยายามที่จะลงโทษอย่างรุนแรงต่อเซอร์เบียด้วยทางทหารเพื่อแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและให้เซอร์เบียควรที่จะระมัดระวังมากขึ้นเกี่ยวกับการสนับสนุนชาตินิยมยูโกสลาฟ อย่างไรก็ตาม มันเป็นการคอยจับตาดูของปฏิกิริยาของจักรวรรดิรัสเซียซึ่งเป็นผู้สนับสนุนที่สำคัญของเซอร์เบีย จึงได้ขอการรับรองจากพันธมิตรอย่างเยอรมนีว่าจะสนับสนุนแก่ออสเตรียในกรณีที่มีความขัดแย้งใด ๆ เยอรมนีได้รับรองที่จะให้การสนับสนุน แต่ได้กระตุ้นให้ออสเตรียทำการโจมตีโดยเร็ว ในขณะที่ความเห็นอกเห็นใจของทั่วโลกต่อรัชทายาทที่ถูกลอบปลงพระชนม์ได้อยู่ในระดับสูง ในคำสั่งที่จะจำกัดวงสงครามและหลีกเลี่ยงความเคลื่อนไหวในรัสเซีย ผู้นำเยอรมันบางคนได้เชื่อว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจของรัสเซียจะเปลี่ยนความสมดุลของอำนาจระหว่างสองประเทศ ซึ่งสงครามเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้และเยอรมนีก็คิดว่าน่าจะดีกว่าถ้าสงครามเกิดขึ้นเร็ว ๆ นี้ อย่างไรก็ตาม แทนที่จะโจมตีอย่างรวดเร็วด้วยกองกำลังทหารที่มีอยู่ ผู้นำออสเตรียได้ใคร่ครวญจนเข้าสู่กลางเดือนกรกฎาคมก่อนที่จะตัดสินใจที่จะยื่นคำขาดอย่างรุนแรงต่อเซอร์เบียในวันที่ 23 กรกฎาคม และจะไม่เข้าโจมตี หากยังไม่มีการระดมพลอย่างเต็มรูปแบบของกองทัพที่ไม่สามารถทำได้ก่อนวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1914
ก่อนที่เซอร์เบียจะตอบกลับคำขาดนี้ รัสเซียได้ตัดสินใจที่จะเข้าไปแทรกแซงในสงครามออสเตรีย-เซอร์เบีย และได้ออกคำสั่งให้มีการระดมพลกองกำลังบางส่วนของกองทัพ ในขณะที่ผู้นำทางทหารรัสเซียได้ยอมรับว่ารัสเซียยังไม่แข็งแกร่งพอสำหรับสงครามโดยทั่วไป รัสเซียเชื่อว่าความไม่พอใจของออสเตรียต่อเซอร์เบียเป็นข้ออ้างที่ถูกเตรียมพร้อมโดยเยอรมนีและจำเป็นต้องแสดงความแข็งแกร่งโดยการปกป้องพันธมิตรอย่างเซอร์เบีย การระดมพลทหารครั้งนี้เป็นปฏิบัติการทางทหารครั้งแรกซึ่งยังไม่ได้มีส่วนร่วมโดยตรงในข้อขัดแย้งระหว่างออสเตรีย-ฮังการีและเซอร์เบีย มันเป็นความตั้งใจที่เพิ่มมากขึ้นของเซอร์เบียเพื่อต่อต้านการคุกคามของการโจมตีของออสเตรียและสร้างความหวาดกลัวที่มากขึ้นในเยอรมนีเกี่ยวกับฝูงทหารรัสเซียที่รวมตัวกันใกล้กับชายแดน ก่อนหน้านี้ กองทัพเยอรมันได้คาดการณ์ว่าการระดมพลทหารของรัสเซียจะล่าช้ากว่าพันธมิตรฝรั่งเศสที่อยู่ตรงข้ามชายแดนของเยอรมนี ดังนั้น กลยุทธ์ทางทหารของเยอรมันในกรณีความขัดแย้งใด ๆ กับรัสเซียคือการโจมตีผ่านทางเบลเยียม เพื่อหลีกเลี่ยงการป้องกันที่เหนียวแน่นของฝรั่งเศสและเอาชนะฝรั่งเศสอย่างรวดเร็วก่อนที่จะเผชิญหน้ากับรัสเซียในทางด้านตะวันออก ฝรั่งเศสได้ทราบดีว่าจะต้องร่วมมือกับพันธมิตรรัสเซียเพื่อเอาชนะคู่ปรับของตนอย่างเยอรมัน ดังนั้นจึงมีการเตรียมความพร้อม เนื่องจากความตึงเครียดตามชายแดนรัสเซียที่เพื่มมากขึ้นซึ่งทำให้เยอรมนีตื่นตระหนกยิ่งขึ้น
ในขณะที่บริเตนใหญ่ได้เข้าร่วมกับรัสเซียและฝรั่งเศส ซึ่งก็ยังมีความสัมพันธ์ทางการทูตที่ค่อนข้างเป็นมิตรกับเยอรมนี และผู้นำบริเตนหลายคนต่างมองไม่เห็นถึงเหตุผลที่น่าสนใจที่เกี่ยวกับบริเตนในสงครามทวีปยุโรป บริเตนได้เสนอการไกล่เกลี่ยหลายครั้งโดยใช้คำตอบของเซอร์เบียเป็นพื้นฐานในการเจรจา และเยอรมนีได้ทำสัญญาต่าง ๆ ในความพยายามที่จะรับรองความเป็นกลางของบริเตน อย่างไรก็ตาม บริเตนได้ตัดสินใจว่าด้วยพันธะทางศีลธรรมในการปกป้องเบลเยียมและช่วยเหลือพันธมิตรอย่างเป็นทางการ กลายเป็นประเทศสุดท้ายที่สำคัญที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในวิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคมเพื่อเข้าสู่ความขัดแย้งอย่างเป็นทางการในวันที่ 4 สิงหาคม ในช่วงต้นเดือนสิงหาคม เหตุผลที่ชัดเจนสำหรับความขัดแย้งทางทหาร ข้อพิพาทระหว่างเซอร์เบียและออสเตรีย-ฮังการีที่เกี่ยวข้องกับรัชทายาทที่ถูกลอบปลงพระชนม์ ได้กลายเป็นที่น่าอัปยศสำหรับสงครามยุโรปทั่วไป
อ้างอิง
[แก้]- Fischer 1967, p. 55: "He [Wilhelm] would declare war at once, if Russia mobilized. This time people would see that he was not "falling out". The Emperor's repeated protestations that in this case no one would ever again be able to reproach him with indecision were almost comic to hear"
- Fromkin 2004, p. 166: "As Vienna has so far inaugurated no action of any sort against Belgrade, the omission of the customary telegram would be too noticeable and might be the cause of premature uneasiness ... It should be sent."
- Fischer 1967, p. 58: "absolute insistence on a war against Serbia was based on the two considerations already mentioned; firstly that Russia and France were 'not yet ready' and secondly that Britain will not at this juncture intervene in a war which breaks out over a Balkan state, even if this should lead to a conflict with Russia, possibly also France ... Not only have Anglo-German relations so improved that Germany feels that she need no longer feel fear a directly hostile attitude by Britain, but above all, Britain at this moment is anything but anxious for war, and has no wish whatever to pull chestnuts out of the fire for Serbia, or in the last instance, Russia ... In general, then, it appears from all this that the political constellation is as favourable for us as it could possibly be."
- Fromkin 2004, p. 169: "There is nothing to prove or even to suppose that the Serbian government is accessory to the inducement for the crime, its preparations, or the furnishing of weapons. On the contrary, there are reasons to believe that this altogether out of the question."
- Fromkin 2004, p. 175: "Information reaches me that the Austro-Hungarian government at the conclusion of the inquiry intends to make certain demands on Belgrade ... It would seem to me desirable that at the present moment, before a final decision on the matter, the Vienna Cabinet should be informed how Russia would react to the fact of Austria's presenting demands to Serbia such as would be unacceptable to the dignity of that state"