ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฒนา เซ่งไพเราะ"
→top: เปลี่ยนชื่อแม่แบบ |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 8: | บรรทัด 8: | ||
|termstart3=6 มกราคม พ.ศ. 2544 |
|termstart3=6 มกราคม พ.ศ. 2544 |
||
|birth_date={{วันเกิดและอายุ|2500|11|19}} |
|birth_date={{วันเกิดและอายุ|2500|11|19}} |
||
|birth_place=[[กรุงเทพมหานคร]] ประเทศไทย |
|||
|spouse=ตรีรัตน์ เซ่งไพเราะ |
|spouse=ตรีรัตน์ เซ่งไพเราะ |
||
|party=[[พรรคพลังธรรม|พลังธรรม]] (2529–2532)<br>[[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]] (2532– |
|party=[[พรรคพลังธรรม|พลังธรรม]] (2529–2532)<br>[[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]] (2532–)<br>[[พรรคไทยรักไทย|ไทยรักไทย]] (2549)<br>[[พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)|พลังประชาชน]] (2550–2551)<br>[[พรรคเพื่อไทย|เพื่อไทย]] (2551–ปัจจุบัน)}} |
||
'''วัฒนา เซ่งไพเราะ''' (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500) อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] และอดีตโฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร |
'''วัฒนา เซ่งไพเราะ''' (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500) อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] และอดีตโฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร |
||
บรรทัด 28: | บรรทัด 29: | ||
วัฒนา เข้าสู่วงการการเมืองด้วยการเป็นสมาชิก[[พรรคพลังธรรม]] ในปี พ.ศ. 2529 และต่อมาสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]] โดยเขาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535]] เขต 4 สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ได้รับไปเพียง 11,293 คะแนน ไม่ได้รับเลือก<ref>{{Cite web |url=https://office2.bangkok.go.th/ard/wp-content/uploads/election/1.10.pdf |title=ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2535 |access-date=2023-09-24 |archive-date=2023-09-26 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230926085542/https://office2.bangkok.go.th/ard/wp-content/uploads/election/1.10.pdf |url-status=dead }}</ref> จากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ([[สุทัศน์ เงินหมื่น]]) ในปี พ.ศ. 2536 และได้ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วย ส.ส. ของ [[สาวิตต์ โพธิวิหค|ดร.สาวิตต์ โพธิวิหค]] |
วัฒนา เข้าสู่วงการการเมืองด้วยการเป็นสมาชิก[[พรรคพลังธรรม]] ในปี พ.ศ. 2529 และต่อมาสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]] โดยเขาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535]] เขต 4 สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ได้รับไปเพียง 11,293 คะแนน ไม่ได้รับเลือก<ref>{{Cite web |url=https://office2.bangkok.go.th/ard/wp-content/uploads/election/1.10.pdf |title=ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2535 |access-date=2023-09-24 |archive-date=2023-09-26 |archive-url=https://web.archive.org/web/20230926085542/https://office2.bangkok.go.th/ard/wp-content/uploads/election/1.10.pdf |url-status=dead }}</ref> จากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ([[สุทัศน์ เงินหมื่น]]) ในปี พ.ศ. 2536 และได้ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วย ส.ส. ของ [[สาวิตต์ โพธิวิหค|ดร.สาวิตต์ โพธิวิหค]] |
||
วัฒนา ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร ใน[[กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544|การเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544]] สังกัด[[พรรคไทยรักไทย]] โดยได้รับเลือกตั้งในครั้งนั้น ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2548]] เขาได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยที่ 2 สังกัดพรรคไทยรักไทยเช่นเดิม ต่อมาหลังพรรคไทยรักไทยถูกยุบเขาย้ายมาสังกัด[[พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)|พรรคพลังประชาชน]]เช่นเดียวกับสมาชิกพรรคไทยรักไทยส่วนใหญ่ และลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2550]] แต่แพ้ให้กับ[[สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์]] จาก[[พรรคประชาธิปัตย์]] ถึงอย่างนั้นในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 วัฒนายังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง([[สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์]])<ref>[https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/246245.pdf <nowiki>ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง [นายวัฒนา เซ่งไพเราะ]</nowiki>]</ref> และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโฆษกกระทรวงศึกษาธิการ และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ([[สมชาย วงศ์สวัสดิ์|สมชาย วงศ์วัสดิ์]])<ref name=":0" /> เขาลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2554]] แต่แพ้ให้กับนายสุทธิเช่นเดิม |
วัฒนา ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร ใน[[กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544|การเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544]] สังกัด[[พรรคไทยรักไทย]] โดยได้รับเลือกตั้งในครั้งนั้น ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2548]] เขาได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยที่ 2 สังกัดพรรคไทยรักไทยเช่นเดิม ต่อมาหลังพรรคไทยรักไทยถูกยุบเขาย้ายมาสังกัด[[พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)|พรรคพลังประชาชน]]เช่นเดียวกับสมาชิกพรรคไทยรักไทยส่วนใหญ่ และลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2550]] แต่แพ้ให้กับ[[สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์]] จาก[[พรรคประชาธิปัตย์]] ถึงอย่างนั้นในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 วัฒนายังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง([[สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์]])<ref>[https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/246245.pdf <nowiki>ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง [นายวัฒนา เซ่งไพเราะ]</nowiki>]</ref> และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโฆษกกระทรวงศึกษาธิการ และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ([[สมชาย วงศ์สวัสดิ์|สมชาย วงศ์วัสดิ์]])<ref name=":0" /> เขาลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2554]] แต่แพ้ให้กับนายสุทธิเช่นเดิม |
||
วัฒนา ได้เข้ามาทำงานกับสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ อีกครั้ง ในฐานะโฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยได้รับการแต่งตั้งในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2554<ref>[https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/1903465.pdf <nowiki>ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง [นายวัฒนา เซ่งไพเราะ]</nowiki>]</ref> |
วัฒนา ได้เข้ามาทำงานกับสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ อีกครั้ง ในฐานะโฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยได้รับการแต่งตั้งในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2554<ref>[https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/1903465.pdf <nowiki>ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง [นายวัฒนา เซ่งไพเราะ]</nowiki>]</ref> |
||
บรรทัด 37: | บรรทัด 38: | ||
{{มีชีวิต}} |
{{มีชีวิต}} |
||
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]] |
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]] |
||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]] |
|||
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] |
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] |
||
[[หมวดหมู่:พรรคพลังธรรม]] |
[[หมวดหมู่:พรรคพลังธรรม]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:03, 1 มิถุนายน 2567
วัฒนา เซ่งไพเราะ | |
---|---|
โฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร | |
ดำรงตำแหน่ง 15 สิงหาคม พ.ศ. 2554 – 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 | |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร | |
ดำรงตำแหน่ง 6 มกราคม พ.ศ. 2544 – 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย |
พรรคการเมือง | พลังธรรม (2529–2532) ประชาธิปัตย์ (2532–2543) ไทยรักไทย (2543–2549) พลังประชาชน (2550–2551) เพื่อไทย (2551–ปัจจุบัน) |
คู่สมรส | ตรีรัตน์ เซ่งไพเราะ |
วัฒนา เซ่งไพเราะ (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร
การศึกษา
[แก้]- นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปีการศึกษา 2522
- เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ปี2525
- ปริญญาโท ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต พัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง) มหาวิทยาลัยเกริก
- หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่1 สถาบันพระปกเกล้า
- หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่นที่1 สถาบันพระปกเกล้า
- หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูง รุ่นที่2 คณะกรรมการการเลือกตั้ง[1]
บทบาททางการเมือง
[แก้]วัฒนา เข้าสู่วงการการเมืองด้วยการเป็นสมาชิกพรรคพลังธรรม ในปี พ.ศ. 2529 และต่อมาสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ โดยเขาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้งเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 เขต 4 สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ได้รับไปเพียง 11,293 คะแนน ไม่ได้รับเลือก[2] จากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (สุทัศน์ เงินหมื่น) ในปี พ.ศ. 2536 และได้ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วย ส.ส. ของ ดร.สาวิตต์ โพธิวิหค
วัฒนา ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคไทยรักไทย โดยได้รับเลือกตั้งในครั้งนั้น ต่อมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2548 เขาได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยที่ 2 สังกัดพรรคไทยรักไทยเช่นเดิม ต่อมาหลังพรรคไทยรักไทยถูกยุบเขาย้ายมาสังกัดพรรคพลังประชาชนเช่นเดียวกับสมาชิกพรรคไทยรักไทยส่วนใหญ่ และลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2550 แต่พ่ายแพ้ให้กับสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ จากพรรคประชาธิปัตย์ ถึงอย่างนั้นในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 วัฒนายังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง(สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์)[3] และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโฆษกกระทรวงศึกษาธิการ และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (สมชาย วงศ์วัสดิ์)[1] เขาลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2554 แต่พ่ายแพ้ให้กับนายสุทธิเช่นเดิม
วัฒนา ได้เข้ามาทำงานกับสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ อีกครั้ง ในฐานะโฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยได้รับการแต่งตั้งในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2554[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "ติดต่อโฆษก". www.parliament.go.th (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2535" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-09-26. สืบค้นเมื่อ 2023-09-24.
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง [นายวัฒนา เซ่งไพเราะ]
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง [นายวัฒนา เซ่งไพเราะ]
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2500
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- นักการเมืองไทย
- บุคคลจากกรุงเทพมหานคร
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร
- พรรคพลังธรรม
- นักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์
- นักการเมืองพรรคไทยรักไทย
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
- นักการเมืองพรรคเพื่อไทย
- บุคคลจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- บุคคลจากคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- บุคคลจากวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก